นักวิจัยเดนมาร์กสร้างชิปที่ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าสาย LAN ถึง หนึ่งล้านแปดแสนเท่า

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 28 авг 2024
  • นักวิจัยเดนมาร์กสร้างชิปที่ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าสาย LAN ถึง 1.8ล้านเท่า โดยการส่งสัญญาณผ่านสายไฟเบอร์ออฟติก ซึ่งเรียกว่าการส่งสัญญาณแบบโฟโตนิกเป็นการส่งสัญญาณผ่านแสง
    #techoffside #ข่าวสั้นล้ำหน้าโชว์ #ส่งข้อมูลได้เร็ววก่าสายLAN #โฟโตนิก

Комментарии • 221

  • @b.a.k.ch.1273
    @b.a.k.ch.1273 Год назад

    ชอบเวลาน้าหัวเราะมาก ขำตามตลอด หึๆๆ

  • @ooojackooo
    @ooojackooo Год назад

    ดูหนังสบายเลย

  • @anuntakal
    @anuntakal Год назад

    โอ้อออ...แม่มมม....จ้าวววว.....

  • @masterhifi1
    @masterhifi1 Год назад +27

    bit = binary digit คือการเรียกชื่อตัวแทนของ ตัวเลข 0 หรือ 1 ของระบบดิจิตอล มี ตัวย่อ เป็น b เล็ก, ส่วน Byte คือ ชุดของตัวเลขไบนารี่ 0 หรือ 1 ที่มีจำนวน 8 หรือ 10 หลัก เป็นตัวแทนของข้อมูล 1 ตัวอักษร ตัวย่อคือ B ใหญ่

    • @egch1yearago21
      @egch1yearago21 Год назад +1

      สมัยเรียน วิชา ดิจิทัล มักจะจำสลับกันทุกที555

    • @kittipong616
      @kittipong616 Год назад +4

      4บิต = 1ดิจิต
      4ดิจิต = 2ไบต์
      2ไบต์ = 1เวิร์ด
      1เวิร์ด = 16บิต
      2เวิร์ด = 32บิต

  • @user-ez2iy9ty6u
    @user-ez2iy9ty6u Год назад

    ซื้อทำขายเลยครับรอใช้งาน

  • @user-tz1sv7dm1i
    @user-tz1sv7dm1i 10 месяцев назад

    ชอบเสียงหัวเราะ😂😂😂

  • @manunite-learning623
    @manunite-learning623 Год назад +13

    พี่ หลาม เปลี่ยนเป็น ไบท์ Bytes ต้อง เอา Bites มาหาญด้วย 8 ครับพี่ 1.84Pbits/Sec = 230TBytes/Sec หรือ 230TelaBytes ต่อวินาที หรือ 230x10^12 bytes ต่อวินาที เวลาเขาอ้างถึงความเร็ว Media หรือสือส่งสัญญาน ต่างๆ มักจะเปรียบเทียบความเร็วเป็น Bits ต่อวินาที เพราะ วัดค่าเป็นกระกระพริบ แต่เวลา อ้างถึงข้อมูล ถึงการเปรียบเทียบเป็น Bytes เปรียบเทียบเป็นหนึ่งตัวอักษร โดย Byte ห่างจาก Bits แปดเท่า หมายถึงว่า เช่น อักษร A ต้องการการะกระพริบ ของ Bits แปดครั้ง A ( 1 byte ) = 01000001 ( 8 bits) มีระหัส ASCII = 065 โดยจะมีตัวอักษรได้ทั้งหมดที่เป็นไปได้คือ 2 ยกกำลัง 8 หรือ 2^8 หรือเท่ากับ 256 ค่า เฉพาะภาษาอังกฤษนะครับ ภาษาอื่น ต้องใช้ มากกว่า 1 byte ต่อตัวอักษร

    • @starttipie9756
      @starttipie9756 Год назад

      สุดยอดคับ

    • @user-by7uv8ed4p
      @user-by7uv8ed4p Год назад

      ขอโทษนะผมพยายามเเล้วเเต่งงตาเเตกเลย สรุผคือพี่หลามเขาเรียกผิดหรอคระบับม

  • @VisibleMRJ
    @VisibleMRJ Год назад

    Toslink ยังไม่ใช่กันเลยจ้า

  • @assassinate9999
    @assassinate9999 Год назад +45

    ข่าวนี้เป็นเรื่องน่ายินดีและน่าสนใจเป็นอย่างมากครับ ทีแรกคิดว่าจะเป็นเพียงทฤษฎีเพียว ไม่คิดว่าจะทำ Prototype ออกมาแล้ว เหลือเพียงขั้นตอนทำออกมาในรูปแบบ Product เท่านั้น
    น่าจะเป็นครั้งแรกของโลกที่ Layer Transport สามารถรองรับข้อมูลได้มากกว่าข้อมูลที่มีในระดับ Super Computer
    ยิ่งทำได้จริงเร็วเท่าไหร่ ก็จะยิ่งมีประโยชน์ต่อมวลมนุษย์มากเท่านั้น การเชื่อมต่อผ่าน MAN จะเป็นอะไรที่สุดยอดมาก และมากไปกว่านั้น มันสามารถรองรับได้ทั่วโลก
    🥳

    • @peterwong8167
      @peterwong8167 Год назад +5

      อีกหน่อยคงต้องเพิ่มเป็น UAN / Universe Area Network

    • @user-fs6vn7uw9n
      @user-fs6vn7uw9n Год назад

      ผมว่ายังไม่ได้ใช้เร็วๆนี้หรอก

    • @niosna9414
      @niosna9414 Год назад

      กับยูสเซอร์ทั่วไป ไม่มีความจำเป็น อย่าเพ้อ

  • @MewziraHeayhaarrru
    @MewziraHeayhaarrru Год назад

    เราเข้าไกล้ การบีม สิ่งของกันได้แล้ว คงไม่เกินอีก 100ปี

  • @Naikom-nd4vb
    @Naikom-nd4vb 11 месяцев назад

    ขณะฝรั่งแต่ทดลอง แต่จีน ทำได้แล้วและมีโรงงานผลิตใช้แล้วด้วย เทคโนโลยีเรียนทันกันหมดครับ

  • @user-nb9zh8jm9w
    @user-nb9zh8jm9w Год назад +1

    ผมไม่ขอไรมากครับ ขอให้สัญญานมือถือแถวบ้านดีแบบสม่ำเสมอพอ

  • @pakpaoloylom8333
    @pakpaoloylom8333 Год назад

    ทำไมไม่เทียบกับ การส่งด้วยแสงในปัจจุบันล่ะ ?

  • @chayakonburanatanyarat2655
    @chayakonburanatanyarat2655 Год назад

    ฟังคนพูดก็ตื่นเต้นแล้ว

  • @AngkulCTWB
    @AngkulCTWB Год назад

    ฮาร์ดดิส read ไม่ทัน

  • @user-oi5oe1pq8g
    @user-oi5oe1pq8g Год назад

    ตรงตามคำทำนาย อนาคต โลก ในยุค3.0 การเชื่อมต่อที่ไร้พรมแดนและไร้ตัวกลาง

  • @sugreesanchai9034
    @sugreesanchai9034 Год назад

    Hack ขโมยข้อมูลที สบายเลย ไม่ถึงวิ หมดเครื่อง

  • @user-xi9in7tr2c
    @user-xi9in7tr2c Год назад

    พี่หาขอมูล เทคโนโรยี เครื่องบินรบ ยาต39กริบเพน ว่าดีแค่ไหน เอามาลงดูบ้างพี่ เห็นของกับตัว ว่า จีนดีกว่า

  • @user-hv7kc5zy6f
    @user-hv7kc5zy6f Год назад

    ถ้าเอามาใช้ทางการแพทย์ มันจะเท่าเส้นประสาทของคนมั้ยนะ

  • @kobaltg.3408
    @kobaltg.3408 Год назад

    PH น่าจะลื่นสุดๆ😁
    หย่อดๆๆๆๆ

  • @tmoretop
    @tmoretop Год назад

    ต้องติดตามคุณ ออสบอน ดีๆนะครับ เดี๋ยวเขากลายเป็นกรีนก๊อบบลิน ล่ะยุ่งเลยทีเดียวเชียววว 5555😅😂

  • @naikomviriya6042
    @naikomviriya6042 Год назад

    จะเป็น photonics chip ที่จีนจะผลิตออกมาเชิงพาณิชย์ปีหน้าแล้วหรือเปล่า

  • @user-pb3fs3yi6f
    @user-pb3fs3yi6f Год назад +4

    อันนี้ขอค้าน เพราะมันขัดกับความรู้และประสบการณ์ (จริง ๆ งานวิจัยอะสำเร็จแล้ว แต่คนที่ออกมานำเสนอ นำเสนอได้ไม่ถูกต้องทั้งหมด มันเลยดูเวอร์) **** ข้อสังเกตุสำคัญสุดอยู่ในสรุป ข้อ 3 ล่างสุดครับ
    .
    1. อัตราเร็วของไฟฟ้าในอุณหภูมิและตัวนำที่ดีที่สุด มีความเร็ว ราว ๆ 99% ของแสง
    - (แปลว่าไฟฟ้าช้ากว่าแสง นิดเดียว แต่ทำไมถูกนำเสนอว่าแสงไวกว่าไฟฟ้าซะขาดลอย)
    .
    2. ทำไมมนุษย์ถึงพัฒนาความเร็วของ CPU ด้วยการเพิ่ม transistor หรือทำให้ transistor เล็กลงเพื่อเพิ่มจำนวนใน CPU ให้มากขึ้น
    - เพราะใน CPU สิ่งที่จะสร้างตรรกะ (ให้นึกถึง gate) ได้ในระบบ digital คือสารกึ่งตัวนำใน transistor ซึ่ง ไอสารกึ่งตัวนำเนี่ยมันเปลี่ยนสถานะด้วยไฟฟ้า ไม่ใช่ด้วยแสง ถึงจะมีสื่อตัวกล่างอย่าง fiber optic แต่สุดท้ายสิ่งที่สร้างตรรกะก็ยังเป็น transistor ที่ใช้ไฟฟ้าอยู่ดี ความเร็วของทั้งระบบจึงขึ้นอยู่กับไฟฟ้า ไม่ว่าสื่อกลางจะเร็วแค่ไหนก็ตาม
    .
    3. จากข้อ 2 เมื่อสิ่งที่สร้างตรรกะ ไม่สามารถเปลี่ยนไปใช้อย่างอื่นได้ มนุษย์จึงพัฒนาหาสื่อหรือตัวกลางที่เร็วที่สุด
    - ระหว่าง transistor 2 ตัว สิ่งที่เป็นสื่อกลางที่ไวที่สุดที่มนุษย์นำมาใช้คือ "ทองคำ"
    .
    4. จุดประสงค์ของการใช้ fiber optic ไม่ใช่เรื่องความเร็วในการประมวลผล แต่เป็น "คงสภาพระยะเวลาตั้งแต่รับที่ต้นทางจนถึงปลายทาง ให้มี noise น้อยที่สุด ซึ่งจะมีผลพลอยได้ตามมาคือระยะทางที่ส่งได้ไกลขึ้น" ซึ่งระยะเวลาในการ mod ที่ต้นทาง หรือ demod ที่ปลายทาง transistor ใช้ระยะเวลาโดยรวมของระบบไป 99.999999999999999999 % แสงจึงไม่ได้มีหน้าที่ทำให้เร็วขึ้นแต่อย่างใด แต่มีหน้าที่ทำให้ไอ 99.99 เนี่ย ไม่เปลี่ยนเป็น 99.98 ประมาณนั้น
    .
    ****สรุป
    1. หากนำแสงมาใช้เป็นสื่อกลาง จะไม่สามารถส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น หากแต่พูดให้ถูกต้องคือจะสามารถคงความเร็วและลดสัญญาณรบกวนไม่ให้ตกลงนับจากได้รับชุดข้อมูลจาก transistor (หลังจากแปลงจากสัญญาณไฟฟ้าเป็นแสง เพื่อให้เดินทางผ่านสื่อกลางได้)
    2. ถึงแสงจะมีช่วงความถี่หรือแบรนวิดท์ที่มากกว่าไฟฟ้า (ตรงนี้ใช้คำว่าไฟฟ้า(Electric)นะครับ ไม่ได้ใช้คำว่าอิเล็กตรอน) แต่สิ่งที่จะแปลงชุดข้อมูลให้ส่งได้ในความถี่นั่น ๆ ก็ยังเป็น transistor ที่เป็นตัวประมวลผลอยู่ดี
    3. อันนี้สำคัญสุด ต้องอ่านให้ดี ๆ นะครับ
    ดูหน่วย ที่เป็นรูปภาพในคลิปดี ๆ นะครับ เขาจะใช้ PB,TB,GB แต่ไม่มีคำว่า per second นั่นหมายความว่า ที่จริงแล้ว งานวิจัยตัวนี้ ไม่ได้ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าสาย LAN แต่อย่างใด แต่ส่งในปริมาณที่มากกว่า สายแลน 1.8 ล้านเท่า โดยไม่กำหนดระยะเวลา ซึ่ง ถ้ายังใช้ transistor ในกระประมวลผล ความเร็วต่อ 1 bit ก็ยังเท่ากับสาย LAN อยู่ดี

  • @starttipie9756
    @starttipie9756 Год назад

    พี่หลามคับผมส่งสัยว่า 7.9กิโลในระยะจิง กับ ระยะที่เเสงวิ่งในออฟติดภายในระยะทางในcpu ที่ยาวเหมือนกัน มีผลเหมือนกันไหมคับ ขอบคุนครับ

  • @revolutionth9600
    @revolutionth9600 Год назад

    ผมรอ intel core i300. หยอกๆ

  • @AsaneeSandsuwand
    @AsaneeSandsuwand Год назад

    สายไฟเบอร์ออฟติก มันก็ต้องเร็วกว่าสาย Lan ที่เป็นสายไฟอยู่แล้วมั้ง

  • @KHOSIABCHANNEL
    @KHOSIABCHANNEL Год назад

    หรือ meta ของมาร์กจะมา

  • @user-xh3xp2yh4y
    @user-xh3xp2yh4y Год назад

    รอนักวิจัยไทยบ้างเถอะ

  • @jimkassana
    @jimkassana Год назад

    ส่งข้อมูลไปดวงอาทิตย์ใช้เวลามากกว่า หรือ น้อยกว่า 8 นาทีครับ????

  • @user-yx3dn8sq8q
    @user-yx3dn8sq8q Год назад +6

    เสียงพี่หลามแปลกๆไม่สบายหรือเปล่าครับผม ดูแลสุขภาพด้วยนะครับ ข่าว สุดยอดเลย

  • @sermsaklimpadapun6054
    @sermsaklimpadapun6054 Год назад

    AI จะใช้มันยึดครองโลก

  • @JumboeTomeki
    @JumboeTomeki Год назад

    รอ SSD อ่านเขียนให้ทันกันต่อไป

  • @TechnologyThailandGod
    @TechnologyThailandGod Год назад

    การสื่อสารอุปกรณ์ในรถไฟฟ้ากำลังจะเป็นไฟเบอร์😊

  • @user-db7zd7ig2o
    @user-db7zd7ig2o Год назад +32

    อยากฟังประวัติ Leica ครับ🙏🙏🙏

    • @Nattawut_MFP
      @Nattawut_MFP Год назад +1

      เหมือนเคยมีคนทำเหมือนกันน่ะ

    • @konamdddi
      @konamdddi Год назад +1

      ผมว่าเป็นกล้องที่เอาไปทำงานยาก กล้องเฉพาะทาง ผมไม่ชอบนะ ผมว่าไม่สวย

    • @kbguerilla
      @kbguerilla Год назад +2

      สมัยก่อนระบบ Range Finder ของไลก้า M ทำให้มันเป็นกล้องอันดับหนึ่งสายนักข่าวสงครามหรือพวกสายลับ เพราะมันไม่มีเสียงการทำงานของชัตเตอร์ ทำให้นักข่าวหรือสายลับมีความเสี่ยงต่ำ นั่นคือสุดยอดเทคโนโลยีสมัยนั้น

    • @user-db7zd7ig2o
      @user-db7zd7ig2o Год назад

      @@Nattawut_MFP ผมพี่หลามเล่าครับ
      สนุกดี และผมดูใครไม่ทนเท่าคลิบของพี่หลามครับ😁😁😁

    • @bunsrinonthasin3171
      @bunsrinonthasin3171 Год назад +1

      น่าสนใจครับ

  • @bigkung379
    @bigkung379 Год назад

    ส่งน่ะส่งได้แต่ตัวบันทึกข้อมูลจะเขียนทันหรือเปล่านี่สิ

  • @chabu42
    @chabu42 Год назад

    ถึงยุคชิปแสงแล้ว

  • @naikomviriya6042
    @naikomviriya6042 Год назад

    ฝรั่งเพิ่งทดลอง ในขณะที่จีนปีหน้าเขาจะผลิตในเชิงพาณิชย์แล้วใครหมู่ใครจ๋าไม่นานเกินรอคงรู้กัน

  • @tripontube365
    @tripontube365 Год назад

    ล้ำหน้าผี เมื่อไหร่จะมาอะครับ รอฟังประสบการณ์ผีของพี่หลามอยู่นะครับ

  • @penguinsice555
    @penguinsice555 Год назад

    ผมสนใจข้อมูลเทียมที่มันขยายแตกตัวเพิ่มเองอนาคตน่าจะนำมาต่อยอดในทางดีและไม่ดีได้หลายอย่าง55

  • @KKKK-rn9hq
    @KKKK-rn9hq Год назад +2

    คงใช้ในสเกลพวก uplink ระหว่าง node ข้ามประเทศ ข้ามทวีปไรงี้

  • @maximarus
    @maximarus Год назад +7

    รอพี่หลามคุยเรื่อง Photonic Chip ที่ว่าจะเร็วกว่า Chip ปัจจุบันกว่าพันเท่า ที่จะเริ่มสายการผลิตปีหน้าในจีน

  • @thasouyakun4578
    @thasouyakun4578 Год назад

    การเคลื่อนย้ายมวลสารไม่เป็นแค่ฝันอรกต่อไป

  • @justascratchbuild7471
    @justascratchbuild7471 Год назад

    มันยังไม่ได้ใช้ตามบ้านหรอกครับ เอาเเค่ะcat 6e ยังใช้ได้อีกเป็น10ปี เทคโฏนโลนยีอินเตอร์เน็ตมันถึงเพดานเร็ว เพราะถึงเร็วให้ตายยังไง เซิฟเวอร์ต้นทางมันก็ปล่อยข้อมูลเท่าเดิม

    • @justascratchbuild7471
      @justascratchbuild7471 Год назад

      สายนี้น่าจะระดับองกรณ์ครับ เหมือนพวกcat 6a ที่ออกมาหลายปีเเล้ว เเต่ก็ไม่ได้ใช้ตามบ้าน ใช้ในองกรณ์

  • @coppercp6436
    @coppercp6436 Год назад

    1TB = 1,024GB

  • @user-fs2pc8ng8c
    @user-fs2pc8ng8c Год назад

    ในอนาคตจะส่งมนุษย์ไปดวงดาวต่างๆด้วยชิปตัวนี้ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติก-แว๊ปไปแว๊ปกลับได้ทันที555

  • @user-tm9uw8bz2f
    @user-tm9uw8bz2f Год назад

    ขนาดสายใยแก้วนำแสงเขาบอกว่าเอามาพันรอบโลกแค่หนี่งวินาทีก็วิ่งได้เจ็ดรอบ แต่นี่ล้ำหน้าความเร็วไปอีกมหาสารโอ้เนาะอะไรจะปานนั้น 🤔

  • @niosna9414
    @niosna9414 Год назад

    กับยูสเซอร์ทั่วไป ไม่มีความจำเป็นหรอก..

  • @MrTk3435
    @MrTk3435 Год назад +1

    WOW! ตื่นเต้นๆ ครับ พี่หลาม 🔥🤟🍷🥳🔥

  • @keng6768
    @keng6768 Год назад

    วิธีการพูดนำเสนอ ข้อมูล ชอบครับพี่หลาม

  • @user-ms2sw6hi6m
    @user-ms2sw6hi6m Год назад

    เเค่ไยแก้วนำเเสงขนหน้าเเค่งก็ล่วงเเล้ว

  • @TNAKK
    @TNAKK Год назад

    เอามาฟังเพลง Hires 5555

  • @tonybefore8539
    @tonybefore8539 Год назад

    อีกหน่อยเมตาเวิร์สคงเป็นอะไรที่สมจริงมากขึ้น การเล่นเกมในอนาคตอาจจะได้เห็นความสมจริงขั้นสูงมากๆ เช่น เกมยิงปืนอาจจะเสมือนกำลังวิ่งเล่นกับเพื่อนในสนามบีบีกันด้วยกันทั้งๆที่ตัวอยู่คนละซีกโลกก็เป็น

  • @actbrow8888
    @actbrow8888 Год назад +5

    รอวันที่ทั้งโลกนี้เล่นเกมส์บนเซิฟเวอร์เดียวกันได้ โดยpingน้อย อยากเล่นdotaแบบโซนจีน+อเมริกา+เอเชีย+ยุโรป+CIS+SA โดยpingน้อย ถึงเวลานั้นคงจะมันส์น่าดู และเวลาจัดแข่งทัวร์ก็สามารถทำOnlineได้โดยไม่มีใครเสียเปรียบ /// ว่าแต่มันเกี่ยวกันปะ ความเร็วสายlanกับping

    • @realize5740
      @realize5740 Год назад

      สายเเลนหรือปริมาณข้อมูลปะ ปิงคือ เวลา t = s/v ปิงขึ้นกับระยะทางจากเซิฟเวอร์ถึงตัวเรา ส่วนอัราเร็วเเสงเร็วเท่ากันหมดปะ

  • @LittlePowStory
    @LittlePowStory Год назад +1

    สุดยอดแห่งแสง แต่ผมว่าการขนส่งข้อมูลน่าจะติดที่การ convert อยู่ดีนะครับ อาจจะช้าตรงการสวิชต์ไป-มา นี่ล่ะ

  • @mysteriousstar7685
    @mysteriousstar7685 Год назад

    ซื้อดิครับรออะไรบริษัทนี้
    ถ้าแรงขนาดนั้นอนาคต ไม่จำเป็นต้องโหลดเกมส์ไว้ในPC เล่นเกมส์ออนไลน์ No ping No delay เป็นต้น

  • @saharakkhiaoain5744
    @saharakkhiaoain5744 Год назад

    เป็นล้านเลยอ่อพี่!!

  • @pamoksinpiboon9069
    @pamoksinpiboon9069 Год назад

    รอ CPU ก่อนนนนน 😂😂

  • @mkve1087
    @mkve1087 Год назад +1

    ผมต่อตัวแปลงสายแลน
    เป็นไฟเบอร์ออฟติค
    จากบ้านหลังเก่า ไปบ้านหลังใหม่
    ระยะทาง900เมตร นอกหมู่บ้าน
    ใช้ได้ดี เหตุเพราะ ขอติดตั้งอินเตอร์
    เน็ตไม่ได้ เพราะไกลกว่าที่กำหนด
    จากตู้500เมตร

    • @siriuszone
      @siriuszone Год назад

      ออ ตอนนี้มีตัวแปลงแล้ว ตัวแปลง และ สายไฟเบอร์ ราคาเท่าใหร่ครีบ

    • @mkve1087
      @mkve1087 Год назад +1

      @@siriuszone สั่งมา520บาท ได้2ตัว
      ในช็อปปี้ ค้นหา Netlink Media Converter รุ่น HTB-GS-03
      ลองหาดู ตอนนี้ก็ยังใช้ตัวนี้อยู่ครับ

    • @siriuszone
      @siriuszone Год назад

      @@mkve1087 ขอบคุณครับ แทบจะตามเทคโนโลยี่ไม่ทันแล้ว มีสิางใหม่ๆ ดีๆ มาอยู่เรื่อย

  • @avatarix2932
    @avatarix2932 Год назад +1

    1:41 เข้าใจเปรียบเทียบให้เห็นภาพมากครับน้าหลาม สุดยอดจริงๆ

  • @PGMBigKhung
    @PGMBigKhung Год назад

    สุดครับพี่หลาม ข่าวนี้เป็นข่าวดีมากๆครับผม

  • @MrSssseo
    @MrSssseo Год назад

    sensor ที่ซื้อใช้อยู่งอได้ถึง R 2 mm ครับ 0.5 ก็มีนะ แต่ไม่เคยใช้

  • @mourikogoro9709
    @mourikogoro9709 Год назад

    เทคโนโลยีนี้อาจมาทดแทนสาย LAN ได้ แต่ระยะทางที่ 7 km ไม่น่าจะแทนสายไฟเบอร์ SM ที่ใช้ลากข้ามประเทศไกลหลายร้อย km ได้

  • @chutidetwansuvong9683
    @chutidetwansuvong9683 Год назад

    อนาคต โทรศัพย์ จะเป็นแทงแก้วใสเป็นจอในตัว หรือไม่ก็เป็นแสงยิงขึ้นจากข้อมือ เหมือนหนังไซไฟ ที่เคยดูกัน แผ่นpcb จะไม่จำเป็นอีกต่อไป

  • @waenailurophile224
    @waenailurophile224 Год назад

    อันนี้คือเรื่องแบนวิดใช่ไหมครับ แล้วชิพที่ประมวลผลด้วยแสง แทนทรานซิสเตอร์ on-off ไปถึงไหนแล้ว

  • @tee12345ification
    @tee12345ification Год назад

    ฉันคงคิดถึงแก ขาวส้มๆ ขาวเขียวน้ำเงิน ขาวน้ำเงินเขียว ขาวน้ำตาลๆ 😂

  • @Mr125312
    @Mr125312 Год назад

    ใกล้ควอนตัมรึยังครับ

  • @loliconduri3928
    @loliconduri3928 Год назад

    ทำเร็วไปทำไม ถ้ายังต้องถ่ายเอกสาร บัตรอยู่😆

  • @top9164
    @top9164 Год назад +1

    =1.85x10ยกกำลัง 15 (1.85x10^15หรือ 1,850 เทราไบรท์/sec )🎉 หรือ แปลงลงอีกอีก =1,850,000 Gigabyte/sec

  • @aunkitaunpanp9499
    @aunkitaunpanp9499 Год назад

    ชอบๆๆๆๆๆๆๆ

  • @IIIWarBiGOnEIII
    @IIIWarBiGOnEIII Год назад

    อยากรู้แสงวิ่งได้ยังไง และใกล้ตัวเรามากที่สุด ลองไปดูที่แผ่นรองเมาล์ที่มีไฟ RGB น่ะ มันยิงแสงผ่านเส้นใสๆรอบแผ่น

  • @kuvncokoj2018
    @kuvncokoj2018 Год назад

    ชอบคำว่าส่งชาตินี้ไปถึงชาติหน้า

  • @1914aloha
    @1914aloha Год назад

    มันจะไปถึงไหนช่างมัน เราตายก่อน

  • @dylvmo
    @dylvmo Год назад

    เน็ต 2 Gbps ผมยังไม่ได้ใช้ (แพง) แล้ว 2 Pbps ชาติไหนผมจะได้ใช้ จะแพงแค่ไหน

  • @Zaio2710
    @Zaio2710 Год назад +1

    ผมต้องไปดูคลิปเก่าพี่หลาม "cpu แห่งอนาคต" มันดูเหมือนเรื่องเดียวกัน ใครก็มุ่งไปสร้าง สถาปัตยกรรม cpu ลำแสง

  • @Luangphol
    @Luangphol Год назад

    เทคโนโลยีแห่งอนาคต ยุคควอนตัมคอมพิวเตอร์

  • @nanofrederick7492
    @nanofrederick7492 Год назад

    จุดเริ่มต้น Skynet ครับ อุ๊ย รับยาช่อง 2 แป๊บ

  • @arumorna891
    @arumorna891 Год назад

    รออสงไขยบิต 🤣🤣🤣🤣

  • @Kampol.Ton.Alter.
    @Kampol.Ton.Alter. Год назад

    อีกไม่นานโฮโลแกรมคงเกิดได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าส่งข้อมูลได้มากขนาดนี้

  • @theartion
    @theartion Год назад

    คงรอใช้ 6G ก่อน ก่อนใช้เทคโนโลยีนี้

  • @KrichyNursing
    @KrichyNursing Год назад

    นึกถึงอเวจีปอยเปตขึ้นมาเลย

  • @radhanasiri
    @radhanasiri Год назад

    ถ้าผ่าน Field test ออกมาได้ OSI MODEL ชั้นล่างของระบบนี้คงเหมือนถูกพรีซไปอีกนาน Network Engineer มีของเล่นใหม่หละ
    เพราะการใช้งานจริงมันเกินความจำเป็นของระบบงานทั่วไปเยอะ
    Fiber SM รุ่นก่อนๆในสายเคเบิ้ลใต้น้ำ ตัวรับส่งทำได้ประมาณ 100-400 Kms.
    อุปกรณ์ตัวนี้ทำได้ไกลแค่ 7 Kms ได้ปริมาณข้อมูลมากกว่า แบบเอาไม้จิ้มฟันเทียบเรือรบเลย มันห่างชั้นกันมากเหลือเกิน

  • @user-zn7rl1en7s
    @user-zn7rl1en7s Год назад

    สายนี้มาเมื่อไร เอไอจะครองโลก

  • @wisaikon
    @wisaikon Год назад

    ความเร็วเทคโนโลยีล้ำระดับนี้คงจะได้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเซิฟเวอร์ และคงได้ใช้สำหรับการส่งถ่ายข้อมูลระหว่างเครื่องเมนกับเครื่องเมนเท่านั้น เครื่องระดับส่วนบุคคลคงไม่ได้ใช้ เพราะตัวเครื่องของยูสเซอร์คงอีกนานกว่าจะมีความเร็วใกล้เคียงความเร็วขนาดนั้นได้

  • @bse27
    @bse27 Год назад

    แล้วเราจะใช้ความเร็วระดับนี้กับอะไรดีผมนึกไม่ออกเลย ช่างมันเรื่องของอนาคต

    • @adisaksaetang2143
      @adisaksaetang2143 Год назад +1

      หุ่นยุนต์การแพทย์ Ai ต่างๆ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ หมอเฉพาะด้านอยู่อีกซีกโลกไม่ต้องบินมา คุมฝั่งนั้น แล้วใช้หุ่นยนต์ผ่าตัด ความเร็วสูงถึงต้องแม่นยำ เพราะทุกวินาทีคือชีวิต

    • @PK-xj3ey
      @PK-xj3ey Год назад

      ใช้ในซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ หรือ AI เท่าที่คิดได้แบบเร็วๆ

  • @aungkoonhunsakul5591
    @aungkoonhunsakul5591 Год назад

    กดส่งไป ยังไม่ทันจะได้ยินเสียงคลิกเลย มันส่งเสร็จแล้ว 555

  • @twtte_laddawan4456
    @twtte_laddawan4456 Год назад

    อยากเล่นโซเซียวแบบ ซอตอาร์ตออนไล

  • @freedomlike5712
    @freedomlike5712 Год назад

    อนาคตก้าวหน้าไปอีกเยอะเลย

  • @vavasaner-55
    @vavasaner-55 Год назад

    - แสงผ่านตัวกลาง..ข้อจำกัด เรื่อง(ความต้านทานของตัวกลาง (นำสัญญาน) ค่อย ๆ ลดน้อยลงไปเรื่อย ๆ …สัญญานไปได้เร็วขึ้น
    - เหมาะใช้กับคอมฯ(ชิฟ)..ควอนตัมฯแน่นอน..

  • @BezSattaya
    @BezSattaya Год назад +2

    มาก่อนกาลแท้ แล้วก็จะไปเกิด bottle neck บน hardware อีกที 😅

  • @user-sx7gy8ni4i
    @user-sx7gy8ni4i Год назад +1

    เป็นเทคโนโลยีที่มีปกติในการส่งข้อมูลผ่านสายเคเบิ้ลใต้น้ำอยู่แล้วหรือเปล่าไม่แน่ใจ เพราะเทคโนโลยีนี้เป็นความลับ มีแต่วีดีโอวางสายเคเบิ้ลแต่ไม่มีใครลงลึกไปถึงระดับตัวรับส่งข้อมูล หรือเปล่าไม่แน่ใจ

    • @endominicus8021
      @endominicus8021 Год назад +1

      อันนั้นมันสายเปล่าครับ อันนี้มันชิปนะครับ

    • @user-sx7gy8ni4i
      @user-sx7gy8ni4i Год назад

      @@endominicus8021 มันไม่ใช่แค่สายเปล่านะมันมีโมดูลเลเซอร์ที่รับสัญญานแสงแล้วขยายสัญญานแสงต่อไปเรื่อยๆจนถึงตัวรับแปลงข้อมูลอีกทอดนึง

    • @radhanasiri
      @radhanasiri Год назад

      ไม่เหมือนกันครับ Fiber SM รุ่นก่อนๆในสายเคเบิ้ลใต้น้ำ ตัวรับส่งทำได้ประมาณ 100-400 Kms. ดังนั้นทุก 100-400 Kms. ก็ต้องมีตัวทวนสัญญาณ
      แต่อุปกรณ์ตัวนี้ทำได้ไกลแค่ 7 Kms ได้ปริมาณข้อมูลมากกว่า แบบเอาไม้จิ้มฟันเทียบเรือรบเลย มันห่างชั้นกันมากเหลือเกิน

  • @Themars26031
    @Themars26031 Год назад

    ขอร้องว่าข้อมูลที่สร้างเทียมขึ้นมานี้ อย่าหลุดออกมาภายนอกก็แล้วกัน
    เดี๋ยวมันสร้างตัวมันเองออกมาเต็มโลกเเล้วจะยุ่ง

  • @xvsyamahav-star4130
    @xvsyamahav-star4130 Год назад +1

    ssd บันทึกไม่ทัน 5555

    • @max998
      @max998 Год назад

      เกมมันกิน 10 เม็ดมันก็จ่าย 10 เม็ด

  • @Kawin_Everything
    @Kawin_Everything Год назад

    อาจจะไม่จริงสำหรับคนที่ชอบถ่ายรูป ถ้าที่เก็บข้อมูลไม่จำกัดทั้งชีวิตน่าจะส่งเป็นชั่วโมง

  • @7mars_Technology
    @7mars_Technology Год назад

    หนักใจ จะหาข้อมูลที่ไหนมาส่งกับเขาล่ะ ?

  • @knightabyss3913
    @knightabyss3913 Год назад

    ผมนี้ เก็บเงินรอซื้อได้หลายสิบล้านแล้วกว่าจะถึงวันนั้น

  • @deucehk
    @deucehk Год назад

    จนกว่าจะทำอุปกรณ์ที่วงจรทั้งหมดเชื่อมต่อภายในกันโดยใช้แสงวิ่งกันหมด ไม่มีวงจรที่เป็นทองแดงก่อน แล้วต้องมีระบบประมวลผลที่ทำได้ไวมากพอกับที่รับส่งด้วย

  • @pongphanyotathoon6996
    @pongphanyotathoon6996 Год назад +1

    CPU แสงแห่งอนาคต รอทุกคนอยู่ครัช

  • @thamestime
    @thamestime Год назад

    รับ-ส่ง เร็วไปก็เท่านั้นแหละถ้าจะเก็บ ยังไง HD ก็เขียนไม่ทันอยู่ดี

    • @bear6106
      @bear6106 Год назад

      ตัวเก็บก็คงเป็นแสงเหมือนกัน

  • @sitthasimarugumapi2883
    @sitthasimarugumapi2883 Год назад

    แรม4แถว รับแบนวิดได้ประมาณ 100Gb/s
    นึกภาพไม่ออกเลยว่าความเร็วขนาดนั้น จะใช้อุปกรณ์อะไรมารับได้เต็มความเร็ว

  • @TongLife
    @TongLife Год назад

    สุดท้ายไปคอขวดที่ Harddisk 🤪