Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ขอบคุณครับ เข้าใจง่าย ทำได้จริง👍
อยากมีวิดิโอที่ไห้ความรู้ดีๆอย่างนี้ตลอดครับ ศึกษาเข้าใจง่าย ขอบคุณอาจารย์มากๆครับ
อาจารย์สอนดีเข้าใจง่าบครับ จะเข้าใจยากหน่อยก็ตรงปลอดหนี้นั้นแหละขอรับ
สวัสดีครับอาจารย์เยี่ยมครับ
ขอบคุณครับ หากอยากทราบหัวข้อใดเพิ่มเติมช่วยแนะนำหน่อยนะครับ
สอนดีมากๆเลยครับ อาจาร์ยครับการใช้งาน timer จริงๆแล้วควรตั้งไว้กี่วินาที หรือเวลาที่ตั้งต้องขึ้นอยู่กับอะไรบ้างครับ (เวลาเปลี่ยนจาก starเป็น delta)
ผมว่าเขียนแบบให้ดูอยากไปหน่อยต้อฃใช่จินตนาการสูง แบบวงจรง่ายๆมีตั้งหลายแบบ
ขอบคุณ อ.มากๆครับ
ได้ความรู้มากเลยครับ
ได้คามรู้มากเลยครับแต่ผมอยากได้ที่เป็นไฟล์เดียากันต้องทำยังไงขอบคุณครับ
ขอบคุณมากๆๆๆค่ะ
ขอบคุณมากๆครับ
ขอบคุณครับครูครับ
winai yimyoun ขอบคุณที่รับชมครับ
อาจารย์ครับ เมื่อมอเตอร์เดินแบบเดลต้าแล้ว ไม่ต้องการให้timerทำงานตลอดเวลาจะแก้อย่างไรครับอาจารย์
สมชาย ทุมรัตน์ ต้องทำวงจร interlock ซ้อนเข้าไปในกิ่ง timer ครับ เพื่อให้มันคุม C2 กับ C3 แทน timer ขอบคุณครับที่ให้ความสนใจ
อาจารย์ครับ ขอวิธีดู nameplate มอเตอร์ 3 เฟส ที่สามารถเดินแบบ star- delta สำหรับไฟบ้านเราบ้างครับขอบคุณครับ
Phongphachara Maksai ตามครับ
Phongphachara Maksai ไม่รู้ตอนนี้มียังครับ
power circuit ตอนเขียนมือให้ดูเมื่อ C3 ทำงาน R ผ่านขดลวดไปจบที่ RS ผ่านขดลวดไปจบที่ ST ผ่านขดลวดไปจบที่ T แต่วงจรตอนสรุปR ผ่านขดลวดไปจบที่ SS ผ่านขดลวดไปจบที่ TT ผ่านขดลวดไปจบที่ Rผมว่าวาดผิดแต่สรุปถูกใช่ไหมครับผมแค่ผิดสังเกตุครับ
ในรูปสรุปต้องพิจารณาเฉพาะจุดต่อเข้าและออกครับ คือจุดต่อเข้า u จะตรงกับ จุดต่อ x ที่ตัวมอเตอณ์ครับ ดังนั้น ถ้าดูคู่ u-x จะเข้าเฟส r และกลับเฟส r ครับ สรุปคือดูที่จุดต่อที่ตรงกันครับ ในทางปฏิบัติเราจะไม่เห็นขดลวดครับ ขอบคุณสำหรับคำถามครับ ในรูปสรุปผมไม่ควรเขียนตัวขดลวดให้สับสนครับ
ขอบคุณครับ
Taweesak Kraikum ขอบคุณครับที่ติดตามชม
อาจารย์ครับคือผมจะส่งรุปวงจรให้อาจารย์ดูให้หน่อยอะครับว่าถูกไหมคือผมจะไปสำภาษณ์อะครับปมไม่มั่นใจว่าถูกไหมช่วย@เฟสผมมากน่อยนะครับอาจารย์ชื่อเฟสผม. อาโน คนบ้านค่าย
งงกับ timer NO NC ถ้า timer ทำงานอยู่จาก nc จะเปลี่ยนเป็น no ไหม
ถ้า timer นับเวลาถึงเวลาที่กำหนดแล้วมันจะเปลี่ยนสถานะหน้าสัมผัสจาก NO เป็น C และเปลี่ยนสถานะหน้าสัมผัส จาก NC เป็น O ตราบใดที่ยังมีไฟฟ้าเลี้ยงตัว timer อยู่ มันจะเปลี่ยนสถานะกลับคืนครับ จะกลับคืนสู่สถานะปกติเมื่อตัดไฟเลี้ยง timer ครับ ขอบคุณที่สอบถามมานะครับ
@@Nitipongsopon ขอบคุณอาจารย์มากครับ
เพราะDelta
อาจารย์มีเพลย์ลิสมั๊ยครับ บทเรียนนี้
เดี๋ยวผมทำให้นะครับ ขอบคุณครับ
Playlist : Nitipong_Electrical Engineering ครับ
@@Nitipongsopon ขอบคุณครับอาจาร์ย
ผิดครับ
อาจารย์ครับของmailหน่อยครับผมมีเรื่องจะปรึกษานิดหน่อยครับขอบคุณล่วงหน้าครับ
ขอบคุณมากคับอาจารย์สอนได้เข้าใจมากคับ
ไฟเฟสเดียวกันจะเข้าขดลวดด้นต้นกับปลายได้ด้วยหร่
คน บ้านนอก สงสัยคำถามครับ เพราะไฟเฟสเดียวกันมันเข้าขดลวดคนละขดนะครับ
ตกลงสตาร์ทที่สตาร์หรือเดลต้าก่อนครับ
สตาร์ก่อนครับ
ขอบคุณครับ เข้าใจง่าย ทำได้จริง👍
อยากมีวิดิโอที่ไห้ความรู้ดีๆอย่างนี้ตลอดครับ ศึกษาเข้าใจง่าย ขอบคุณอาจารย์มากๆครับ
อาจารย์สอนดีเข้าใจง่าบครับ จะเข้าใจยากหน่อยก็ตรงปลอดหนี้นั้นแหละขอรับ
สวัสดีครับอาจารย์เยี่ยมครับ
ขอบคุณครับ หากอยากทราบหัวข้อใดเพิ่มเติมช่วยแนะนำหน่อยนะครับ
สอนดีมากๆเลยครับ อาจาร์ยครับการใช้งาน timer จริงๆแล้วควรตั้งไว้กี่วินาที หรือเวลาที่ตั้งต้องขึ้นอยู่กับอะไรบ้างครับ (เวลาเปลี่ยนจาก starเป็น delta)
ผมว่าเขียนแบบให้ดูอยากไปหน่อยต้อฃใช่จินตนาการสูง แบบวงจรง่ายๆมีตั้งหลายแบบ
ขอบคุณ อ.มากๆครับ
ได้ความรู้มากเลยครับ
ได้คามรู้มากเลยครับแต่ผมอยากได้ที่เป็นไฟล์เดียากันต้องทำยังไงขอบคุณครับ
ขอบคุณมากๆๆๆค่ะ
ขอบคุณมากๆครับ
ขอบคุณครับครูครับ
winai yimyoun ขอบคุณที่รับชมครับ
อาจารย์ครับ เมื่อมอเตอร์เดินแบบเดลต้าแล้ว ไม่ต้องการให้timerทำงานตลอดเวลาจะแก้อย่างไรครับอาจารย์
สมชาย ทุมรัตน์ ต้องทำวงจร interlock ซ้อนเข้าไปในกิ่ง timer ครับ เพื่อให้มันคุม C2 กับ C3 แทน timer ขอบคุณครับที่ให้ความสนใจ
อาจารย์ครับ ขอวิธีดู nameplate มอเตอร์ 3 เฟส ที่สามารถเดินแบบ star- delta สำหรับไฟบ้านเราบ้างครับ
ขอบคุณครับ
Phongphachara Maksai ตามครับ
Phongphachara Maksai ไม่รู้ตอนนี้มียังครับ
power circuit ตอนเขียนมือให้ดูเมื่อ C3 ทำงาน
R ผ่านขดลวดไปจบที่ R
S ผ่านขดลวดไปจบที่ S
T ผ่านขดลวดไปจบที่ T
แต่วงจรตอนสรุป
R ผ่านขดลวดไปจบที่ S
S ผ่านขดลวดไปจบที่ T
T ผ่านขดลวดไปจบที่ R
ผมว่าวาดผิดแต่สรุปถูกใช่ไหมครับ
ผมแค่ผิดสังเกตุครับ
ในรูปสรุปต้องพิจารณาเฉพาะจุดต่อเข้าและออกครับ คือจุดต่อเข้า u จะตรงกับ จุดต่อ x ที่ตัวมอเตอณ์ครับ ดังนั้น ถ้าดูคู่ u-x จะเข้าเฟส r และกลับเฟส r ครับ สรุปคือดูที่จุดต่อที่ตรงกันครับ ในทางปฏิบัติเราจะไม่เห็นขดลวดครับ ขอบคุณสำหรับคำถามครับ ในรูปสรุปผมไม่ควรเขียนตัวขดลวดให้สับสนครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
Taweesak Kraikum ขอบคุณครับที่ติดตามชม
อาจารย์ครับคือผมจะส่งรุปวงจรให้อาจารย์ดูให้หน่อยอะครับว่าถูกไหมคือผมจะไปสำภาษณ์อะครับปมไม่มั่นใจว่าถูกไหมช่วย@เฟสผมมากน่อยนะครับอาจารย์ชื่อเฟสผม. อาโน คนบ้านค่าย
งงกับ timer NO NC ถ้า timer ทำงานอยู่จาก nc จะเปลี่ยนเป็น no ไหม
ถ้า timer นับเวลาถึงเวลาที่กำหนดแล้วมันจะเปลี่ยนสถานะหน้าสัมผัสจาก NO เป็น C และเปลี่ยนสถานะหน้าสัมผัส จาก NC เป็น O ตราบใดที่ยังมีไฟฟ้าเลี้ยงตัว timer อยู่ มันจะเปลี่ยนสถานะกลับคืนครับ จะกลับคืนสู่สถานะปกติเมื่อตัดไฟเลี้ยง timer ครับ ขอบคุณที่สอบถามมานะครับ
@@Nitipongsopon ขอบคุณอาจารย์มากครับ
เพราะDelta
อาจารย์มีเพลย์ลิสมั๊ยครับ บทเรียนนี้
เดี๋ยวผมทำให้นะครับ ขอบคุณครับ
Playlist : Nitipong_Electrical Engineering ครับ
@@Nitipongsopon ขอบคุณครับอาจาร์ย
ผิดครับ
อาจารย์ครับของmailหน่อยครับผมมีเรื่องจะปรึกษานิดหน่อยครับขอบคุณล่วงหน้าครับ
ขอบคุณมากคับอาจารย์สอนได้เข้าใจมากคับ
ไฟเฟสเดียวกันจะเข้าขดลวดด้นต้นกับปลายได้ด้วยหร่
คน บ้านนอก สงสัยคำถามครับ เพราะไฟเฟสเดียวกันมันเข้าขดลวดคนละขดนะครับ
ตกลงสตาร์ทที่สตาร์หรือเดลต้าก่อนครับ
สตาร์ก่อนครับ