พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 24-27 องค์คณะผู้พิพากษา

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 18 сен 2024
  • วิดีโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1/64
    🙌เนื้อหาจะเป็นเรื่ององค์คณะผู้พิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 24-27
    📌สารบัญคลิป
    0:05 intro ความหมายและความสำคัญขององค์คณะผู้พิพากษา
    11:54 มาตรา 24 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในทุกชั้นศาล
    15:56 มาตรา 24 (1)
    23:35 มาตรา 24(2)
    ‼️38:09 แก้ไขเลขมาตรา เป็นมาตรา 17 ประกอบ *มาตรา 25 * (4) และ (5)
    38:24 มาตรา 25 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น
    40:21 มาตรา 25(1)
    44:51 มาตรา 25(2)
    51:18 มาตรา 25(3)
    1:03:02 มาตรา 25(4)
    1:22:24 มาตรา 25(5)
    1:28:22 มาตรา 25 วรรคสอง
    1:31:37 มาตรา 26 องค์คณะพิจารณาพิพากษาศาลชั้นต้นที่มิใช่ศาลแขวงหรือศาลยุติธรรมอื่น
    1:39:32 มาตรา 27 องค์คณะในศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค หรือศาลฎีกา
    🔴สำหรับมาตรา 28-33 สามารถรับชมได้ในคลิปนี้ค่ะ👇👇👇
    📖ทบทวนพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา 28-33 พร้อมเทคนิคในการจับประเด็นและเขียนตอบข้อสอบ
    • ทบทวนพระธรรมนูญศาลยุติ...
    ที่มา: 📘ดวงเด่น นาคสีหราช.ย่อหลักพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ฉบับ Mind Map พร้อมคำถามคำตอบ.
    พิมพ์ครั้งที่ 3 .กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์วิญญูชน 2564.

Комментарии • 17

  • @englishforlawyersmoreduangden
    @englishforlawyersmoreduangden  2 года назад +8

    📌สารบัญคลิป
    0:05 intro ความหมายและความสำคัญขององค์คณะผู้พิพากษา
    11:54 มาตรา 24 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในทุกชั้นศาล
    15:56 มาตรา 24 (1)
    23:35 มาตรา 24(2)
    ‼️38:09 แก้ไขเลขมาตรา เป็นมาตรา 17 ประกอบ *มาตรา 25 * (4) และ (5)
    38:24 มาตรา 25 อำนาจของผู้พิพากษาคนเดียวในศาลชั้นต้น
    40:21 มาตรา 25(1)
    44:51 มาตรา 25(2)
    51:18 มาตรา 25(3)
    1:03:02 มาตรา 25(4)
    1:22:24 มาตรา 25(5)
    1:28:22 มาตรา 25 วรรคสอง
    1:31:37 มาตรา 26 องค์คณะพิจารณาพิพากษาศาลชั้นต้นที่มิใช่ศาลแขวงหรือศาลยุติธรรมอื่น
    1:39:32 มาตรา 27 องค์คณะในศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค หรือศาลฎีกา

    • @1982nannapat
      @1982nannapat 2 года назад +1

      ขอบพระคุณ​ท่าน​อาจารย์​ค่ะ🙏

    • @englishforlawyersmoreduangden
      @englishforlawyersmoreduangden  2 года назад

      @@1982nannapat ด้วยความยินดีค่า

  • @phatthirasripratak4467
    @phatthirasripratak4467 2 года назад +3

    ขอบพระคุณอ.ดวงเด่นมากๆนะคะ ❤️🥰 ได้ทบทวนหลักการ และ เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ

  • @torng3040
    @torng3040 Год назад +1

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @racharilprosi3200
    @racharilprosi3200 22 дня назад +1

    ผมจะสอบเทอมหนี้ ของม.ราม มาย้อนฟังอาจารย์บรรยายเข้าใจดีครับ

    • @englishforlawyersmoreduangden
      @englishforlawyersmoreduangden  21 день назад +1

      ขอบพระคุณค่ะ ขออนุญาตแปะวิดีโอเพลลิสต์ครบทุกมาตรา ให้ค่ะ
      🚩ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
      ruclips.net/p/PL74tf6evNIPBiKVnuC-rN372pxrSppDpv

    • @racharilprosi3200
      @racharilprosi3200 21 день назад

      @@englishforlawyersmoreduangden ขอบพระคุณอาจารย์คนเก่งรัวๆที่เมตตาครับ

  • @warissaraPhat
    @warissaraPhat 2 года назад +1

    ขอบคุณค่ะอาจารย์🙏🏻😍

  • @blackviper9667
    @blackviper9667 5 месяцев назад +1

    อาจารย์ครับ ถ้าคดีนั้น อัยการเป็นโจทก์ ผู้พิพากษาประจำศาลมีคำสัง ประทับฟ้อง คำสังประทับฟ้อง ชอบหรือไหมครับ

    • @englishforlawyersmoreduangden
      @englishforlawyersmoreduangden  5 месяцев назад

      กลับไปดูที่หลักค่ะ อำนาจของผู้พิพากษามีจำกัดและคดีอาญาต้องคำนึงถึงอัตราโทษด้วยตามที่อธิบายในคลิป เช่น มีอำนาจเป็นผู้พิพากษาคนเดียวตามมาตรา 24(1),(2) และมาตรา 25วรรค 1(1),(2)ประกอบ มาตรา 25วรรคสอง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม แล้วเราจะตอบคำถามข้อนี้ได้ค่ะ
      หมายเหตุ
      มาตรา 24“ให้ผู้พิพากษาคนหนึ่งมีอำนาจดังต่อไปนี้
      (1) ออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสั่งให้ส่งคนมาจากหรือไปยังจังหวัดอื่น
      (2) ออกคำสั่งใด ๆ ซึ่งมิใช่เป็นไปในทางวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแห่งคดี”
      มาตรา 25 ในศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาคนเดียวเป็นองค์คณะมีอำนาจเกี่ยวแก่คดีซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลนั้น ดังต่อไปนี้
      (1) ไต่สวนและวินิจฉัยชี้ขาดคำร้องหรือคำขอที่ยื่นต่อศาลในคดีทั้งปวง
      (2) ไต่สวนและมีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
      ❌(3) ไต่สวนมูลฟ้องและมีคำสั่งในคดีอาญา
      ❌(4) พิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง ซึ่งราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินที่ฟ้องไม่เกินสามแสนบาท ราคาทรัพย์สินที่พิพาทหรือจำนวนเงินดังกล่าวอาจขยายได้โดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
      ❌(5) พิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึ่งกฎหมายกำหนดอัตราโทษอย่างสูงไว้ให้จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่จะลงโทษจำคุกเกินหกเดือน หรือปรับเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งโทษจำคุกหรือปรับอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างเกินอัตราที่กล่าวแล้วไม่ได้
      ผู้พิพากษาประจำศาลไม่มีอำนาจตาม (3) (4) หรือ (5)(มาตรา 25วรรคสอง)

  • @chetthasawangsuk8087
    @chetthasawangsuk8087 8 месяцев назад

    อาจาร์ย ครับคดีอาญาที่ราษฎรเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ศาลแขวง ผู้พิพากษานายเดียวไต่สวนแล้วเห็นว่าคดีไม่มีมูลจึงพิพากษายกฟ้อง ถามว่าผู้พิพากษาคนเดียวมีอำนาจยกฟ้องหรือไม่ ครับ โจทก์จะอุทธรณ์ได้หรือไม่อย่างไร ครับ

  • @cio1551
    @cio1551 Год назад

    ประเทภเข้าร่วมกดหมายสหัประชาต พ.ศ.ไหนคับ

  • @cio1551
    @cio1551 Год назад

    มีประเทภไดเข้าร่วมบางคับ

  • @ธรรมรัตน์-ฎ2อ

    25(5) คือถ้าอัตราโทษเกินตามที่กำหนด ผู้พิพากษาคนเดียวไม่มีอำนาจใช่ไหมครับ