Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
สุรินทร์บ้านผมเอง ประเพณีนี้มีมายาวนานมากๆควรค่าแก่การสืบทอดไปตลอดกาล มีความงดงาม มีศิลปะ มีความปรานีตละเอียด ในวัฒนะธรรม "แซนโฎนตา"ผมก็รอมานาน รายการทำจนได้ ขอบคุณมากๆครับ
เหมือนบ้านผมที่กัมพูชาแต่ผิดกันแค่ประมาน1%เท่านั้นดีใจมากที่บองปโอนเขมรถินไทยรักษาได้ดีมากๆ ล่ะขอบคุณแอดมินมากเลยที่นำเสนอ นะครับ🙏🇰🇭🇹🇭
โดนตา. เสร็น. ยังมีอยู่จนถึงทุกวันนี้
@@ArmMobile-pn2cq อีสานใต้ทุกจังหวัดยังคงทำทุกปี เทสกาลสำคัญของพี่น้องชาวเขมรครับ
สุรินทร์จัดยิ่งใหญ่มาก
คุ้นเคยกับประเพณีนี้มากๆ..ผมคนเหนือแต่จะไปทุกปีครับผมน่ะ😂เขยสุรินทร์😂เข้าไหว้ทุกบ้าน..เมาเลยล่ะวันนั้นแต่ตั้งแต่ปีนี้..คงไม่ได้ไปอีกละ.เพราะภรรยานั้นได้ไปมีคนใหม่คนศรีสะเกษไปแล้ว..😢แต่งงานจดทะเบียนมา10กว่าปีช่างไร้ความหมาย/แพ้คนมาแค่ไม่ถึงปี😢 อดคิดถึง/แม่ๆป้าๆ..ผู้สูงอายุที่เรานับถือที่นั้นไม่ได้..นึกถึงรสชาติข้าวต้มยาวๆ/ที่เราเอามาปิ้งกิน.ทุกปี😊ญาติผู้ใหญ่ที่นั้น/คนเฒ่าคนแก่ดีมากทุกคนเลย/ถึงตอนนี้ยังบอกเราให้ไปหา/ทำตัวเหมือนเดิม/มันเรื่องคนสองคน/เขาทุกคนที่นั้นก็ยังรักเอ็นดูเรา/เราก็ยังเคารพพ่อดอง/แม่เองเราเหมือนเดิม/แต่โอกาสจะได้ไปคงน้อยละไม่เหมือนเดิม..
สู้ๆนะครับพี่
เป็นกำลังใจให้นะครับ มีทายาทด้วยกันมั้ย ยินดีต้อนรับสู่อิสานใต้เสมอครับ เรื่องอื่นๆปล่อยมันไปตามกฎแห่งกรรม
เป็นกำลังใจให้นะครับ ผู้ใหญ่คนเฒ่าแก่ที่นั่นยังคงคิดถึงคุณในฐานะลูกหลานของท่าน
เป็นคอมเม้นที่ผมอยากเม้นแบบนี้เหมือนกันครับ ต่างกันเพียงแฟนผมไปเป็นนางฟ้าบนสวรรค์ได้3ปีแล้ว แต่ผมก็ยังไปบ้านแฟนที่เสียอยุ่สุรินทร์บ่อยๆครับ
คิดถึงก็ไปเที่ยวสิ
ประเพณีของอีสานใต้ที่งดงาม เป็นวันรวมญาติ เป็นวันที่มีความสุข เป็นความทรงจำที่ดีตั้งแต่เด็ก ทุกๆปีจะเห็นแม่ทำขนมต่างๆไว้เซ่นไหว้บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว♥️
ดีใจชื่นใจจัง วันแซนโฎนตาผ่านมาไม่กี่วันและสถานที่ถ่ายทำก็อยู่ไม่ไกลจากบ้านเราด้วย สุรินทร์บ้านเกิด .เราถูกปลูกฝังมาแต่จำความได้และทำสืบต่อมาทุกปี.ประเพณีของแต่ละถิ่นอาจจะแตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อยแต่นั่นคือความหมายคำว่า แซนโฏนตา เบ็ญทม..มาจากบรรพบรุษสิ่งของทุกอย่างมีความหมายที่จัดทำขึ้นมา และสัมภัสได้จริงจากตัวเอง ก่อนถึงวันแซนโฎนตาและจะทำต่อไป.**งัยเบ็ญทม**❤❤❤❤😊😊
ตั้งแต่พลัดบ้านพลัดถิ่นมา ไม่ได้เคยได้กลับไปสัมผัสกับบรรยากาศประเพณีดั้งเดิมแบบนี้อีกเลย แต่ก็ไม่เคยเดิมประเพณีบ้านเกิดเมืองนอนของตนยังคงรักและระลึกถึงเสมอ ภูมิใจที่พูดเขมรได้ ภูมิใจที่ได้เกิดมาอยู่ที่สุรินทร์ ภูมิใจที่เคยได้สัมผัสประเพณีแซนโฎนตา😊
ขอบคุณทีมงานมากครับที่นำเรื่องราวของประเพณีทำบุญเดือน10ของพี่น้องชาวอีสานใต้ได้รับความรู้เพิ่มเติมมากขึ้นเลยนะครับ
❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
ผมคนอีสานเหนือ
ดูรายการ EP นี้แล้วน้ำตาไหล เขมรพลัดถิ่นมาทำงานต่างจังหวัด เขมรบุรีรัมย์ครับ
เป็นพิธีกรรมที่ดีมาก ได้ประโยชน์หลาย เป็นการระลึกถึงบรรพชนญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว ส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งที่สำคัญก็คือญาติพี่น้องลูกหลาน ซึ่งแยกย้ายไปอยู่ในที่ต่างๆได้กลับมาพบกัน และยังมีอีกหลานอย่างที่ได้จากงานนี้ น่าอนุรักษ์ให้อยู่นานเท่านาน ส่วนตัวที่บ้านชุมชนไม่มีประเพณีนี้ แต่ก็ช่วงสงกรานต์จะมีการนัดหมายญาติพี่น้องมาร่วมกันทำบุญรวมญาติ สุดประสงค์ก็จะเหมือนกันนี้ แต่ไม่ได้ทำเป็นประเพณีทั้งหมด จะมีทำเป็นบางตระกูล แต่ของผู้เขียนจะทำก็เล็งเห็นผลเช่นเดียวกันนี้ น่ายกย่องบรรพชนที่นำทำมา
ที่บ้านจะรวมญาติบุญประเพณีตอนสงกรานต์ วันที่17เมษายนของทุกปี😊
ตระกูลผมจะสรงธาตุบรรพบุรุษทุกสงกรานต์ แต่เห็นพิธีแซนโฎนตาของชาวไทยเชื้อสายเขมรแล้ว เขาไหว้ผีบรรพบุรุษกันระดับหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นพิธียิ่งใหญ่กว่ามากครับ
กราบขอบพระคุณคณะฯประวัติศาสตร์นอกตำรา ที่มาถ่ายทำสารคดี แซนโฎนตา ตามคำขอร้อง กับเราชาวอิสานใต้ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างมาก
คนอีสานเหนือที่ไม่เข้าใจ
😢
คิดถึงบ้านเลย เขมรจะตื่นเต้นกับการ แซนโดนตามาก
เป็นสารคดีชั้นดีที่นำเสนอประเพณีแซนโฎนตาของกลุ่มคนอีสานใต้ ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชน❤❤❤
หูยยยย เป็น Ep ที่ท้องใส้ปั่นป่วนเลยทีเดียว ความรู้คู่ความหิว😂😂😂
โฎนตา ประเพณีสำคัญของชาวเขมรถิ่นไทย...ขุขันธ์เมืองเก่า เป็นเมืองแรกๆ นำประเพณีมาชูเป็นงานประจำปี ตอนนี้มีอีกมากมายที่นำงานนี้มาเชิดชูให้เป็นงานประจำปี ในอีกหลายๆพื้นที่ สมควรอนุรักษ์ไว้ครับ
ครบ จบ สมบูรณ์ ทั้งเรื่องเล่า ภาพ เสียง รวมถึงดนตรีประกอบ
ที่แขมร์กัมพูชาก็มี เรียกว่า ทไงปจุมเบ็น (วันประชุมเบ็น)ที่แขมร์กรอม เวียดนาม ก็มี ครับ และก็มีไหว้ขอพร อธิฐาน พระจันทร์ด้วยการกรอกข้าวเม่าใส่ปากจากต้อนรับข้าวเปลือกใหม่เอาไปคั่วตำ ไปสืบข้อมูลได้
วัฒนธรรมเดียวกันก่อนมีการแบ่งเขตแดน รัฐชาติ
แล้วที่เขมร์กรอม เวียดนามเขาพูดภาษาอะไร พอดีรู้จักลุงคนหนึ่งแกบอกว่าแกอพบพมาจากเขมร์กรอม ปัจจุบันแกเสียชีวิตแล้วคือเราสงสัยว่าลูกหลานแกหน้าตาเหมือนคนญี่ปุ่น(ยูน)มาก ตอนนี้เริ่มเข้าใจแล้วว่าเขมร์กรอมคือ คนเขมรผสมเวียดนาม ส่วนคนไทยหรือคนสยามในอดีตหมายถึงกลุ่มหลากหลายชาติพันธุ์เช่น ชาวซีม ชาวขะแม ชาวเลียวว ชาวกูย ชาวเจน ชาวยูน ชาวขะแมกรอม ชาวแขก ด้วยความหลากหลายชาติพันธุ์ทำให้การสื่อสารยากลำบากเราจึงต้องเรียนรู้ภาษากลาง นั้นคือภาษาไทย ประวัติศาสตร์นอกตำราทำให้โลกกว้างมากขึ้น สิ่งที่เราสงสัยในอดีตเริ่มกระจ่างมากขึ้นขอบคุณรายการนี้มากๆเลยค่ะ
@@vhhh4103 เขมรเค้าแบ่งออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ๆหลักๆน่ะครับ แยกตามพื้นที่ภูมิประเทศที่ตั้งรกรากอาศัย เรียงกันตามระดับความสูงพื้นที่ ได้แก่ ที่ราบสูง (ปัจจุบันคืออีสานใต้ในประเทศไทย)คือ เขมรสูง (ขะแมร์เลอ) ที่ราบลุ่มโตนเลสาบ (ประเทศกัมพูชาปัจจุบัน) คือเขมรกลาง (ขะแมร์กดาล) และ ที่ลุ่มปากแม่น้ำโขง (บริเวณตอนใต้สุดของเวียดนามปัจจุบัน) คือ เขมรล่าง (ขะแมร์กรอม) (เขมรสุรินทร์จะเรียกทั้งเขมรกลางและเขมรล่างรวมไปเลยเป็น เขมรต่ำ และทั้งสามเขมรนี้ พูดภาษาเดียวกันแต่ต่างสำเนียงพอสมควร อีกทั้งเเมื่อนับจากหลังอาณาจักรนครวัดล่มสลาย เขมรสุรินทร์รวมชุมชนเป็นเอกเทศและได้สถาปนาเป็นเมืองสุรินทร์ ปกครองตนเองตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมาถึงรัตนโกสินทร์ ก็มีเจ้าเมืองเข้ากับสยามตลอด แถมสนับสนุนกำลังพลร่วมกองทัพสยามไปรบในหลายวาระ ตั้งแต่อยุธยาถึงรัชกาลที่สี่ แล้วเข้าเป็นเมืองในมณฑลนครราชสีมาสมัยรัชกาลที่ห้าแล้วมาเป็นจังหวัดในปัจจุบัน ไม่เคยมีสถานะเป็นเมืองขึ้น ในขณะที่เขมรกลาง ตั้งบ้านเมืองได้ไม่นานก็ตกเป็นเมืองขึ้นอยุธยาทั้งสามสมัยคือที่ละแวก อุดงค์มีชัย จนย้ายมาที่พนมเปญ ก็เป็นเมืองขึ้นรัตนโกสินทร์ก่อนตกเป็นเมืองขึ้นฝรั่งเศสต่อ ในขณะที่เขมรต่ำ เดิมทีก็รวมๆอยู่ในเขมรกลางด้วยกัน ต่อมาดินแดนก็ถูกขีดเส้นไปเป็นส่วนหนึ่งของอินโดจีนโดยฝรั่งเศสก่อนผนวกไปรวมอยู่กับเวียดนาม จะเห็นว่าทั้งสามเขมรนี้ก็ใช่จะอยู่ในองคาภยพเดียวกันเสียเมื่อไหร่ ก็คล้ายๆกับพวกสลาฟที่ก็มีทั้งรัสเซีย ยูโกสลาเวีย ฯลฯ และไม่ได้เกี่ยวข้องดองกันไปทั้งหมดแต่อย่างใด
@@vhhh4103ที่ขะแมร์กรอมเขาพูดภาษาเขมรเหมือนสุรินทร์ครับ Khmergrom song
ขอบคุณมาก ครับ ที่มา ถ่าย งานแซนโฎนตา บ้านผม อ.ขุขันธ์ พรุง่นี้ ผม ขออนุญาติเอาไปลง ในเพจ ขุขันธ์ทูเดย์ นะครับ
ยอมรับตรงๆว่าในมุมคนนอกที่ไม่รู้ถึงจุดประสงค์จริงๆของพิธีกรรมนี้ เคยมองว่าล้าหลัง งมงาย แต่พอดูแบบนี้แล้วรู้สึกว่าเป็นพิธีที่ดีมากๆ มันเต็มไปด้วยความตั้งใจดี คิดดี ทำดี และน่านับถือหลายๆอย่างๆ ถึงกับต้องมองตัวเองเลยว่าเราปฎิบัติต่อญาติผู้ใหญ่ของเรายังไง
ศศศสสซซซววซ
ศฒ
ถ้ามีบรรยายหรือซับเป็นภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆด้วย จะดีมากๆ ทำให้ชาวต่างชาติเข้าใจมากขึ้น
English , snake snake fish fish level.
วันนี้ดูล่าสุด มีแล้วครับ เป็นซับ english
ดูทุกตอน จนมาถึงตอนนี้ประเพณีบ้านผมขอบคุณช่องดีๆแบบนี้จริงๆครับ..จากนี้ไปจะเปิดให้ลูกหลานดูทุกๆep.ที่ช่องนี้ทำ
นครศรีธรรมราช บ้านผม เรียกว่า สารทเดือนสิบ (ชิงเปรต) ครับ
กราบขอบพระคุณครับ ผมน้ำตาไหลตลอดเลยครับ ดีใจภูมิใจครับ
เหมือนผมเลยน้ำตาไหลตลอดเลย😅
เคยไปบ้านเพื่อนที่สุรินทร์ คือรู้เลยว่าคนที่นั่นเค้าเคร่งพิธีกรรม ประเพณีมากๆ ลูกหลานอยูกรุงเทพก็ลางานกันมา และก็ไปวัดกันบ่อยมาก และยังใส่ผ้าถุง ผ้าซิ่นไปวัดกันอยู่ทั้งคนหนุ่มสาว และผู้สูงอายุ
ผมคนสุรินทร์แซนโฏนตาทุกปี.หรือวันรวมญาติ.เพื่อบูชาบรรพบุรุษ มีกันจือ มีบายเบ็น มีบายเบิ่จตะโบร คน ไทยเชื้อสายเขมรเขารู้กันขอขอบพระคุณช่อง ประวัติศาสตร์นอกตำราที่หยิบเอาเรื่องราวโฏนตาเอามานำเสนอต่อบุคคลทั่วไปให้รู้ถึงประเพณีอันดีงามของคน ที่เรียกว่า (อีสานใต้)บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ🇹🇭💯❤
เป็นพิธีที่งดงามมากๆเป็นการระลึกคุณของพ่อแม่ปู่ย่าตายายและบรรพชนและเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในชุมชนและเป็นการสืบสานและรับข่วงต่อความงดงามนี้จากคนรุ่นสู่รุ่น
13:42 กำลังนึกถึงเลย ขนมจุดจุน ขนมจูจุน แต่ที่ใต้ทอดด้วยน้ำมันมะพร้าว
งานแซนโดนตาที่ยิ่งใหญ่ในไทย อยู่ที่ อำเภอ ขุขันธ์ จ ศรีสะเกษ ครับ
ชอบดูประวัติศาสตร์นอกตำรามากๆ
ขอบคุณทีมงามประวัตินอกตำรา ทำสารคดีให้ดูค่ะ
ธรรมเนียมดีงาม ในทุกถิ่นฐาน ควรรักษาไว้
เอาเลยครับ สิ่งดีๆ มีเยอะ ขอให้ทุกท่านมีความสุข อยู่อย่างมีความสุข ส่วนท่านผู้ล่วงลับไปแล้วขอให้มีความสุข ดวงวิญญาณไม่ต้องห่วง
ขอบคุณที่นำเสนอเรื่องนี้นะคะ เนื้อหาละเอียดมาก ดูแล้วคิดถึงบ้านมีเสริมอีกนิดค่ะ อันซอมสเลิ๊กโดง ::: สเลิ๊กแปลว่าใบ ดังนั้นอันซอมสเลิ๊กโดง หมายถึงข้าวต้มที่ห่อด้วยใบมะพร้าว หรืออาจเรียกข้าวต้มทางมะพร้าวก็ได้ เวลาไปเก็บก็ตัดใบอ่อนมาทั้งทางมะพร้าวเลย เพราะต้อองใช้เยอะ (เหลือก็เอาไปฝากครูที่โรงเรียน หรือไม่ก็ย่างไฟอ่อนๆ ข้าวต้มจะหอมมากขึ้น)ส่วนศาลพระภูมิ ที่บ้านเป็นอำเภอที่อยู่ติดชายแดน ส่วนใหญ่ไม่มีศาลในบริเวณบ้านค่ะ
คิดถึงข้าวตอก ขนมหมกไส้มะพร้าว สิ้นบุญปู่ย่าตายาย วัฒนธรรมก็ค่อยๆจางหายไป
ชอบจังครับ ภูมิภาคอุษาคเนย์ มีวัฒนธรรมร่วมกันหลายอย่างคล้ายๆกัน จะมีแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยตามภูมิภาค วัตถุดิบท้องถิ่นในการทำของไหว้ แต่แก่นของประเพณีความเชื่อคือสิ่งเดียวกัน
พิธีส่งความรัก ความห่วงใย ไปให้ถึงคนที่ล่วงลับ ที่อยู่โลกนึง
ยอดเยี่ยมเลยค่ะเด็กๆรุ่่นหลังไม่ได้ศึกษาละเอียดดีมากค่ะทีได้นำเสนอให้ทราบโดยละเอียดเป็นสิ่งที่น่าศึกษาน่าภาคภูมิใจ ส่งผลถึงด้านจิตใจให้ท้องถิ่น หรือบ้านเมืองสงบร่มเย็นสืบต่อไป สาธุๆๆๆ..
สุดยอดเลย ทีมงานประวัติศาสตร์นอกตำรา โมโวยโฎนตา
ดูแลคิดถึงบ้านเลยคับ อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ
ประเพณีที่น่ารักอบอุ่นมาก ทั้งลูกหลาน เพื่อนสนิทพวกพ้อง
รายการที่ให้ความรู้มากที่สุด
มาแล้ว คลังความรู้ของฉัน แซนโกนตา ไหว้ ผีบรรพบุรุษ ทั้งครอบครัว และ ผีเจ้าที่หมู่บ้าน เราเคยไปไหว้ กับพี่ๆๆ ที่สุรินทร์ ถ้า จะ กล่าวคือ สารทไทย สารทลาว (ข้าวสาก) สารทจีน ช่วง เดือน 10 เดือน 11 มีทุกภาค ของไทย และ อาเซียน
ดีต่อใจมาก ผมเขยเเม่สายเดินทางไป บุรีรัมย์ทุกปี ต้องไปทุกปี ไปแล้วกลับมาแล้วสบายใจครอบครัวอบอุ่น ค้าขายดี ปังๆทุกปี ผมเชื่อเลย
เราอยู่ศรีเกษก็มีแบบนี้ค่ะ ขอบคุณที่นำเสนอให้ทุกคนได้รับรู้ประเพณีนี้ค่ะ
เฝ้ารอว่าเมื่อไหร่น๊่าาาา ที่ช่องจะทำพิธีกรรมนี้ และปีนี้ได้มีเเล้วขอบคุณนะคะ
14 ค่ำเดืน10 คือบุญสาทรเล็ก (แขร์ เรียบกัณทรง/วันอยู่กรรม ของเขมรถิ่นไทย)15 ค่ำเดือน10 คือ บุญสาทรใหญ่ ( แขร์ ประจุมเบ็ญแซนฎนตา/วันแซ่นไหว้ และส่งบรรพบุรุษ)เกิดขึ้น 4 ปีในปี อทิกกะสุรฏิน (ปีที่มีเดือน 10 สองรอบ)
น้ำตาไหลนึกถึงบุญเดือนสิบ ที่ใต้ นึกถึงผีบรรพบุรุษ
ผมคนเชียงใหม่ครับ ปัจจุบันมาอยู่บ้านขนุน ขุขันธ์ ศรีสะเกษ แซนโฎณตาทุกปี
รายการดีมากๆครับ ทำให้ได้รู้ถึงวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น อยากให้ทำเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมวันสารทเดือนสิบ ของทางภาคใต้บ้างครับ น่าจะมีวัฒนธรรมร่วมกันที่น่าศึกษาและติดตาม
อ่านแค่ชื่อนี่นึกว่าบุญเดือนสิบของภาคใต้ไม่นึกว่าอีสานก็มี
ยอดเยี่ยมสุดๆๆ เลยครับ กับรายการ ที่เหนือความคาดหมายทุกๆ เรื่องราว
ขอบคุณรายการนี้มากครับ ผมจะติดตามและสนับสนุนรายการในทุกๆด้านเลยครับ ขอบคุณที่นำเสนอได้อย่างละเอียด
ขอบคุณได้ความรู้จากช่องนี้เยอะเลย ไกล้จะล้านซัพแล้ว😊
ช่วงต้นรายการเห็นเหล่าคุณยายคั่วข้าวตอก เห็นแล้วน้ำตาไหลเลยค่ะคิดถึงคุณยายที่ท่านได้ล่วงลับไปแล้ว เคยคั่วข้าวตอกและห่อข้าวต้มกับท่าน คิดถึงคุณยายมากเลยค่ะ
ดูอบอุ่นดีจังครับ ควรอนุรักษ์ไว้ครับ
แซนโฎนตา บางบริษัทในแถบอีสานใต้ ต้องเป็นวันหยุดงาน เหมือนตรุษจีน เป็นความเชื่อเหมือนกันทุกภาคประเทศไทย รับและส่งบรรพบุรุษ
ดูแล้วช่างมีความอิ่มเอิบใจ ปลื้มปิ่มใจยิ่งครับ ❤❤❤❤❤
สุรินทรขอเสียงหน่อยค่าาาาาา
น้ำตาไหล คิดถึงตายายที่จากไป
ขอบคุณและดีใจมากครับที่ทำคอนเทนต์เรื่องแซนโฎนตา ของชาวไทยเชื้อสายเขมร แถบเทือกพนมดงรัก
อย่าเขมรก็เคลมอีก
เราไม่ใช่เชื้อสายเขมร เราคือขอม
@@PPE2606เลอะเทอะ ถ้ามีเชื้อเขมรแล้วบอกว่าตัวเองไม่ใช่เขมร คนนั้นเรียกว่าวัวลืมตีน
@@Bodyslam1911ฝั่งแขมร์กรอมเขาก็ทำเหมือนกันครับ ไม่ต้องแซะกัน ประเพณีดีงามทำดีทำได้ทำไป
@@godking-kp4etประเพณีมันดีงามอยู่แล้วแต่เขมรมันสันดานเสีย คุณว่าจริงไหม เคลมโบเดีย
พิธีกรรม และประเพณีดีงาม ขอให้รักษาและสืบสานต่อไปครับ
❤ติดตามพี่น้องช้างที่สุรินทร์ เลยรู้จักพิธีกรรมนี้เข้มขลังมสก😊
ผมนี่คนสระแก้ว อ.ตาพระยา ต.ทัพเสด็จ โตมากับสิ่งนี้จริงๆบ้านผมก็ทำปกติครับเสร็จก็กินกันต่อ สนุกครับแต่ไม่ได้เจออะไรไม่ดีเลยครับ แถมดวงดี และคนเมตตามากครับ
🙏ศรัทธา คือ ความเชื่อ🙏สาธุเจ้าค่ะบรรพชน
เห็นแล้วคิดถึงบ้านเกิดที่สุรินทร์ ผมเกิดในครอบครัวเชื้อสายลาว แต่พวกเราก็เอาพิธีโดนตาของเขมรมาปฏิบัติด้วย แต่เอามาแค่บางส่วน ตอนเด็กๆ ผมชอบช่วงเดือนสิบมากเพราะจะได้กินข้าวกระยาสารท ข้าวต้ม นางเล็ด และขนมบัวอร่อยๆ หลังจากเซ่นไหว้เสร็จแล้ว เด็กๆ จะสนุกและเอร็ดอร่อยกับการเอาเครื่องเซ่นมากิน ไก่ต้มอร่อยมาก มีน้ำหวานอร่อยๆ ให้กินด้วย เป็นของที่นานๆ ทีจะได้กิน ที่สำคัญคือ มีความสุขที่ได้เจอญาติพี่น้องที่มาพร้อมหน้าพร้อมตากัน
นำเสนอได้ครบทุกแง่มุม ความนัยที่ประเพณีท้องถิ่นได้แฝงเอาไว้ ..ดูสำคัญกว่าวันสงกรานต์ กว่าวันขึ้นปีใหม่ ที่คนตจว.ได้กลับบ้านซะอีก
ขอบคุณทีมงานประวัติศาสตร์นอกตำรามากครับ🙏 ที่ถ่ายทอดประเพณีของชนกลุ่มเขมรของบ้านผมให้ชาวโลกรับรู้ คุณภาพมากครับ เป็นกำลังใจให้ครับ❤
งานบุญสารทเดือนสิบเป็นงานใหญ่ประจำปีของจังหวัดนครศรีธรรมราชและชาวใต้ พึ่งรู้ว่ามีทั่วเอเชียอาคเนเลย ขอบคุณข้อมูลครับแอด
นครศรีธรรมราชคนเขมรก็ไปอยู่เยอะ
@@TaAe-hj9nq ผมก็เชื่อว่าโบราญกาล2เมืองนี้มีความเกี่ยวพันธ์กันแน่นอน
ไม่ว่าภาคอีสานภาคเหนือหรือภาคใต้งานศาสเดือนสิบพิธีกรรรมเเต่กต่างกันออกไป...เเต่จุดประสงค์หลักเหมือนๆกันคืออุทิศส่วนกุศลทำบุญไห้เเเก่บรรพระบุรุษที่ล้วงลับไปแล้ว..
สารทเดือนสิบ จะว่าไปก็ทำกันทั่วภูมิภาคนี้ล่ะครับ อีสานและลาว เรียก บุญข้าวสาก ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 คนเชื้อสายเขมร เรียก โฎลตา รึ แซนโฎลตา แรม 15 ค่ำ เดือน 10
ทำกันทั่วประเทศแต่รายละเอียดต่างกันตามภูมิภาค แต่ที่ภาคใต้ดังสุดเพราะการโปรโมทที่มีพลัง จากสมาคมชาวใต้ในกทม.😊
ขอบคุณสำหรับสารคดีที่ทรงคุณค่าอีกชุด ขอบคุณจากใจค่ะ
อาระตี จุดเทียนส่วนธูป ควันจะก่อโรคหืดหอบจ้า ขอบคุณที่ไม่จุดธูป
ขอบคุณข้อมูลดีๆนะคะ เคยเข้าร่วมประเพณีตอนเป็นสมาชิกในครอบครัวนั้น ตอนนี้ไม่ได้เป็นแล้วค่ะแต่เข้าใจพิธีกรรมลึกซึ้งอยู่ค่ะ
ขอบคุณความรู้ดีๆค่ะ
อบอุ่นใจจังเลยครับ
เบ้านผมเขมรบุรีรัมย์ รวมญาติกันวันโฏนตาทุกปี
ประเพณีเซนโฏนตา นี้ มีใครรู้ไหมว่าที่จังหวัดร้อยเอ็ด ก็มีหมู่บ้านบ้านหนึ่ง บ้านสว่างตำบลศรีสว่างอำเภอโพนทรายจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นหมู่บ้านบ้านเดียวในจังหวัดร้อยที่เป็นเขมรซึ่งจัดพร้อมกันวันเดียวกันกับชาวเขมรสุรินทร์บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ
รักรายการนี้
ขอบคุณสาระดีๆ ครับ
ขอบคุณมากครับ ได้รับความรู้ดีมากครับ
สวัสดียามเช้า❤ 🎉 ทีมงานประวัติศาสตร์ฯ ทุกท่าน😊
❤❤❤สุดยอดมาก,,ช่องนี้,,ขอปรบมือรัวๆๆๆๆๆๆๆๆ🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
ที่บ้านผมก็ทำทุกปี แต่ด้วยภาระหน้าที่ก็ได้แต่ส่งเงินไปซื้อของช่วยในพิธี พอถึงพิธีไหว้ทางบ้านก็จะใช้วีดีโอมาให้เราดูแล้วให้เราช่วยเรียกบรรพบุรุษครับ
ไหว้ผีบรรพบุรุษเจ้าที่เจ้าทาง แซนโดนตา (ผมลูกหลานเซื้อสายเขมร,เขมรอุบล🙏)
ขอขอบคุณ
ทีมงานขอบพระคุณสำหรับการสนับสนุนการผลิตรายการนะคะ
ชอบเสียงคนบรรยาย❤❤
ขอบคุณครับ
เราเองเป็นคน อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ ต้องไปแซนโฎกตาหรือที่เรียกแซนโดนตา ทุกๆปี
สาระเพลินดีครับ ต่อด้วยภาคอื่นๆ ด้วยนะครับ เช่น ชิงเปรต ทางใต้
ถ้าจำไม่ผิดน่าจะเป็นวันเดียวกันกับประเพณีแซนโฎนตาของอิสานใต้ใช่มั้ยครับ
พึ่งได้ยินและเรียนรู้ประเพณีเป็นครั้งแรก ขอบคุณรายการนี้มากๆที่สะท้อนทุกแง่มุมของประเพณี ทุกความคิด เกล็ดเล็กน้อยของพิธีกรรมจนทำให้เราเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ ขอบคุณมากๆจริงๆครับติดตามเป็นกำลังใจให้ทุกตอนเลย😊
สุดยอดเลยครับ
สวัสดีครับอาจารย์.👍👍👍❤️
นี่คือเหตุผลที่ควรยกเลิก national holiday ควรให้เราเลือกวันหยุดเอง
มีต่อไป
ประเพรีบ้านฉัน เหมือนวันร่วมญาติ ที่ลูกหลาน ทุกเชื้อทุกสาย จะมาร่วมกันที่บ้านใหญ่ #เสร็าะกราวสะเร็น
ทางเหนือบางจังหวัด มีตานธรรมวันเป็งเดือนสิบสอง ครับ 😇😇😇
ครับเป็นประเพณีความเชื่อ ถ้าเป็นเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดก็แสดงว่าปู่ย่าตายายไม่ยอมไปเกิดเลยน่ะลูกหลานต้องจัดข้าวปลาอาหารมาเลี้ยงผีปู่ย่าตายายทุกๆปี
คนอินเดียแดง (Native America) เขาก็มีพิธีกรรมคล้ายกันกับการแสนโฏนตา อาจจะมีความสัมพันธ์กันในเรื่องความเชื่อ
หนูสุรินทร์ เป็นประเพณีที่ไม่ว่ายังไงลูกหลานจะกลับมาไหว้บรรพบุรุษ
ฝากทางทีมงานนำเสนอ พิธีฟ้อนผีปู่ย่าและการเลี้ยงผีปู่ย่าในแทบ จังหวัดภาคเหนือหน่อยครับ เช่น ลำปาง กับเชียงใหม่ สองจังหวัดนี้มีความคล้ายคลึงและแตกต่างกันอย่างไรบ้างครับ เพราะไหนๆก็นำเสนอของอีสานแล้วก็ทำภาคเหนืออีกสักคลิปครับจะขอพระคุณมากๆเลยครับ
นาที 4:03...คำกริยา...ไม่ใช่กิริยา(มารยาท)...ครับ.
แซนโฎนตาสุดยอดแล้วเขมรถิ่นไทย
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ
พิธีกรรมนี้ชนเผ่ากวยหรือส่วย..ก็ทำเหมือนกันครับ
สุรินทร์บ้านผมเอง ประเพณีนี้มีมายาวนานมากๆควรค่าแก่การสืบทอดไปตลอดกาล มีความงดงาม มีศิลปะ มีความปรานีตละเอียด ในวัฒนะธรรม "แซนโฎนตา"
ผมก็รอมานาน รายการทำจนได้ ขอบคุณมากๆครับ
เหมือนบ้านผมที่กัมพูชาแต่ผิดกันแค่ประมาน1%เท่านั้นดีใจมากที่บองปโอนเขมรถินไทยรักษาได้ดีมากๆ ล่ะขอบคุณแอดมินมากเลยที่นำเสนอ นะครับ🙏🇰🇭🇹🇭
โดนตา. เสร็น. ยังมีอยู่จนถึงทุกวันนี้
@@ArmMobile-pn2cq อีสานใต้ทุกจังหวัดยังคงทำทุกปี เทสกาลสำคัญของพี่น้องชาวเขมรครับ
สุรินทร์จัดยิ่งใหญ่มาก
คุ้นเคยกับประเพณีนี้มากๆ..ผมคนเหนือแต่จะไปทุกปีครับผมน่ะ😂เขยสุรินทร์😂เข้าไหว้ทุกบ้าน..เมาเลยล่ะวันนั้นแต่ตั้งแต่ปีนี้..คงไม่ได้ไปอีกละ.เพราะภรรยานั้นได้ไปมีคนใหม่คนศรีสะเกษไปแล้ว..😢แต่งงานจดทะเบียนมา10กว่าปีช่างไร้ความหมาย/แพ้คนมาแค่ไม่ถึงปี😢 อดคิดถึง/แม่ๆป้าๆ..ผู้สูงอายุที่เรานับถือที่นั้นไม่ได้..นึกถึงรสชาติข้าวต้มยาวๆ/ที่เราเอามาปิ้งกิน.ทุกปี😊ญาติผู้ใหญ่ที่นั้น/คนเฒ่าคนแก่ดีมากทุกคนเลย/ถึงตอนนี้ยังบอกเราให้ไปหา/ทำตัวเหมือนเดิม/มันเรื่องคนสองคน/เขาทุกคนที่นั้นก็ยังรักเอ็นดูเรา/เราก็ยังเคารพพ่อดอง/แม่เองเราเหมือนเดิม/แต่โอกาสจะได้ไปคงน้อยละไม่เหมือนเดิม..
สู้ๆนะครับพี่
เป็นกำลังใจให้นะครับ มีทายาทด้วยกันมั้ย ยินดีต้อนรับสู่อิสานใต้เสมอครับ เรื่องอื่นๆปล่อยมันไปตามกฎแห่งกรรม
เป็นกำลังใจให้นะครับ ผู้ใหญ่คนเฒ่าแก่ที่นั่นยังคงคิดถึงคุณในฐานะลูกหลานของท่าน
เป็นคอมเม้นที่ผมอยากเม้นแบบนี้เหมือนกันครับ ต่างกันเพียงแฟนผมไปเป็นนางฟ้าบนสวรรค์ได้3ปีแล้ว แต่ผมก็ยังไปบ้านแฟนที่เสียอยุ่สุรินทร์บ่อยๆครับ
คิดถึงก็ไปเที่ยวสิ
ประเพณีของอีสานใต้ที่งดงาม เป็นวันรวมญาติ เป็นวันที่มีความสุข เป็นความทรงจำที่ดีตั้งแต่เด็ก ทุกๆปีจะเห็นแม่ทำขนมต่างๆไว้เซ่นไหว้บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว♥️
ดีใจชื่นใจจัง วันแซนโฎนตาผ่านมาไม่กี่วันและสถานที่ถ่ายทำก็อยู่ไม่ไกลจากบ้านเราด้วย สุรินทร์บ้านเกิด .เราถูกปลูกฝังมาแต่จำความได้และทำสืบต่อมาทุกปี.ประเพณีของแต่ละถิ่นอาจจะแตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อยแต่นั่นคือความหมายคำว่า แซนโฏนตา เบ็ญทม..มาจากบรรพบรุษสิ่งของทุกอย่างมีความหมายที่จัดทำขึ้นมา และสัมภัสได้จริงจากตัวเอง ก่อนถึงวันแซนโฎนตาและจะทำต่อไป.**งัยเบ็ญทม**❤❤❤❤😊😊
ตั้งแต่พลัดบ้านพลัดถิ่นมา ไม่ได้เคยได้กลับไปสัมผัสกับบรรยากาศประเพณีดั้งเดิมแบบนี้อีกเลย แต่ก็ไม่เคยเดิมประเพณีบ้านเกิดเมืองนอนของตนยังคงรักและระลึกถึงเสมอ ภูมิใจที่พูดเขมรได้ ภูมิใจที่ได้เกิดมาอยู่ที่สุรินทร์ ภูมิใจที่เคยได้สัมผัสประเพณีแซนโฎนตา😊
ขอบคุณทีมงานมากครับที่นำเรื่องราวของประเพณีทำบุญเดือน10ของพี่น้องชาวอีสานใต้ได้รับความรู้เพิ่มเติมมากขึ้นเลยนะครับ
❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
ผมคนอีสานเหนือ
ดูรายการ EP นี้แล้วน้ำตาไหล เขมรพลัดถิ่นมาทำงานต่างจังหวัด เขมรบุรีรัมย์ครับ
เป็นพิธีกรรมที่ดีมาก ได้ประโยชน์หลาย เป็นการระลึกถึงบรรพชนญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว ส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งที่สำคัญก็คือญาติพี่น้องลูกหลาน ซึ่งแยกย้ายไปอยู่ในที่ต่างๆได้กลับมาพบกัน และยังมีอีกหลานอย่างที่ได้จากงานนี้ น่าอนุรักษ์ให้อยู่นานเท่านาน ส่วนตัวที่บ้านชุมชนไม่มีประเพณีนี้ แต่ก็ช่วงสงกรานต์จะมีการนัดหมายญาติพี่น้องมาร่วมกันทำบุญรวมญาติ สุดประสงค์ก็จะเหมือนกันนี้ แต่ไม่ได้ทำเป็นประเพณีทั้งหมด จะมีทำเป็นบางตระกูล แต่ของผู้เขียนจะทำก็เล็งเห็นผลเช่นเดียวกันนี้ น่ายกย่องบรรพชนที่นำทำมา
ที่บ้านจะรวมญาติบุญประเพณี
ตอนสงกรานต์ วันที่17เมษายนของทุกปี😊
ตระกูลผมจะสรงธาตุบรรพบุรุษทุกสงกรานต์ แต่เห็นพิธีแซนโฎนตาของชาวไทยเชื้อสายเขมรแล้ว เขาไหว้ผีบรรพบุรุษกันระดับหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นพิธียิ่งใหญ่กว่ามากครับ
กราบขอบพระคุณคณะฯประวัติศาสตร์นอกตำรา ที่มาถ่ายทำสารคดี แซนโฎนตา ตามคำขอร้อง
กับเราชาวอิสานใต้
กราบขอบพระคุณเป็นอย่างมาก
คนอีสานเหนือที่ไม่เข้าใจ
😢
คิดถึงบ้านเลย เขมรจะตื่นเต้นกับการ แซนโดนตามาก
เป็นสารคดีชั้นดีที่นำเสนอประเพณีแซนโฎนตาของกลุ่มคนอีสานใต้ ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชน❤❤❤
หูยยยย เป็น Ep ที่ท้องใส้ปั่นป่วนเลยทีเดียว ความรู้คู่ความหิว😂😂😂
โฎนตา ประเพณีสำคัญของชาวเขมรถิ่นไทย...ขุขันธ์เมืองเก่า เป็นเมืองแรกๆ นำประเพณีมาชูเป็นงานประจำปี ตอนนี้มีอีกมากมายที่นำงานนี้มาเชิดชูให้เป็นงานประจำปี ในอีกหลายๆพื้นที่
สมควรอนุรักษ์ไว้ครับ
ครบ จบ สมบูรณ์ ทั้งเรื่องเล่า ภาพ เสียง รวมถึงดนตรีประกอบ
ที่แขมร์กัมพูชาก็มี เรียกว่า ทไงปจุมเบ็น (วันประชุมเบ็น)
ที่แขมร์กรอม เวียดนาม ก็มี ครับ
และก็มีไหว้ขอพร อธิฐาน พระจันทร์ด้วยการกรอกข้าวเม่าใส่ปาก
จากต้อนรับข้าวเปลือกใหม่เอาไปคั่วตำ
ไปสืบข้อมูลได้
วัฒนธรรมเดียวกันก่อนมีการแบ่งเขตแดน รัฐชาติ
แล้วที่เขมร์กรอม เวียดนามเขาพูดภาษาอะไร พอดีรู้จักลุงคนหนึ่งแกบอกว่าแกอพบพมาจากเขมร์กรอม ปัจจุบันแกเสียชีวิตแล้วคือเราสงสัยว่าลูกหลานแกหน้าตาเหมือนคนญี่ปุ่น(ยูน)มาก ตอนนี้เริ่มเข้าใจแล้วว่าเขมร์กรอมคือ คนเขมรผสมเวียดนาม ส่วนคนไทยหรือคนสยามในอดีตหมายถึงกลุ่มหลากหลายชาติพันธุ์เช่น ชาวซีม ชาวขะแม ชาวเลียวว ชาวกูย ชาวเจน ชาวยูน ชาวขะแมกรอม ชาวแขก ด้วยความหลากหลายชาติพันธุ์ทำให้การสื่อสารยากลำบากเราจึงต้องเรียนรู้ภาษากลาง นั้นคือภาษาไทย ประวัติศาสตร์นอกตำราทำให้โลกกว้างมากขึ้น สิ่งที่เราสงสัยในอดีตเริ่มกระจ่างมากขึ้นขอบคุณรายการนี้มากๆเลยค่ะ
@@vhhh4103 เขมรเค้าแบ่งออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ๆหลักๆน่ะครับ แยกตามพื้นที่ภูมิประเทศที่ตั้งรกรากอาศัย เรียงกันตามระดับความสูงพื้นที่ ได้แก่ ที่ราบสูง (ปัจจุบันคืออีสานใต้ในประเทศไทย)คือ เขมรสูง (ขะแมร์เลอ) ที่ราบลุ่มโตนเลสาบ (ประเทศกัมพูชาปัจจุบัน) คือเขมรกลาง (ขะแมร์กดาล) และ ที่ลุ่มปากแม่น้ำโขง (บริเวณตอนใต้สุดของเวียดนามปัจจุบัน) คือ เขมรล่าง (ขะแมร์กรอม) (เขมรสุรินทร์จะเรียกทั้งเขมรกลางและเขมรล่างรวมไปเลยเป็น เขมรต่ำ และทั้งสามเขมรนี้ พูดภาษาเดียวกันแต่ต่างสำเนียงพอสมควร อีกทั้งเเมื่อนับจากหลังอาณาจักรนครวัดล่มสลาย เขมรสุรินทร์รวมชุมชนเป็นเอกเทศและได้สถาปนาเป็นเมืองสุรินทร์ ปกครองตนเองตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมาถึงรัตนโกสินทร์ ก็มีเจ้าเมืองเข้ากับสยามตลอด แถมสนับสนุนกำลังพลร่วมกองทัพสยามไปรบในหลายวาระ ตั้งแต่อยุธยาถึงรัชกาลที่สี่ แล้วเข้าเป็นเมืองในมณฑลนครราชสีมาสมัยรัชกาลที่ห้าแล้วมาเป็นจังหวัดในปัจจุบัน ไม่เคยมีสถานะเป็นเมืองขึ้น ในขณะที่เขมรกลาง ตั้งบ้านเมืองได้ไม่นานก็ตกเป็นเมืองขึ้นอยุธยาทั้งสามสมัยคือที่ละแวก อุดงค์มีชัย จนย้ายมาที่พนมเปญ ก็เป็นเมืองขึ้นรัตนโกสินทร์ก่อนตกเป็นเมืองขึ้นฝรั่งเศสต่อ ในขณะที่เขมรต่ำ เดิมทีก็รวมๆอยู่ในเขมรกลางด้วยกัน ต่อมาดินแดนก็ถูกขีดเส้นไปเป็นส่วนหนึ่งของอินโดจีนโดยฝรั่งเศสก่อนผนวกไปรวมอยู่กับเวียดนาม จะเห็นว่าทั้งสามเขมรนี้ก็ใช่จะอยู่ในองคาภยพเดียวกันเสียเมื่อไหร่ ก็คล้ายๆกับพวกสลาฟที่ก็มีทั้งรัสเซีย ยูโกสลาเวีย ฯลฯ และไม่ได้เกี่ยวข้องดองกันไปทั้งหมดแต่อย่างใด
@@vhhh4103ที่ขะแมร์กรอมเขาพูดภาษาเขมรเหมือนสุรินทร์ครับ Khmergrom song
ขอบคุณมาก ครับ ที่มา ถ่าย งานแซนโฎนตา บ้านผม อ.ขุขันธ์ พรุง่นี้ ผม ขออนุญาติเอาไปลง ในเพจ ขุขันธ์ทูเดย์ นะครับ
ยอมรับตรงๆว่าในมุมคนนอกที่ไม่รู้ถึงจุดประสงค์จริงๆของพิธีกรรมนี้ เคยมองว่าล้าหลัง งมงาย แต่พอดูแบบนี้แล้วรู้สึกว่าเป็นพิธีที่ดีมากๆ มันเต็มไปด้วยความตั้งใจดี คิดดี ทำดี และน่านับถือหลายๆอย่างๆ ถึงกับต้องมองตัวเองเลยว่าเราปฎิบัติต่อญาติผู้ใหญ่ของเรายังไง
ศศศสสซซซววซ
ศฒ
ถ้ามีบรรยายหรือซับเป็นภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆด้วย จะดีมากๆ ทำให้ชาวต่างชาติเข้าใจมากขึ้น
English , snake snake fish fish level.
วันนี้ดูล่าสุด มีแล้วครับ เป็นซับ english
ดูทุกตอน จนมาถึงตอนนี้ประเพณีบ้านผมขอบคุณช่องดีๆแบบนี้จริงๆครับ..จากนี้ไปจะเปิดให้ลูกหลานดูทุกๆep.ที่ช่องนี้ทำ
นครศรีธรรมราช บ้านผม เรียกว่า สารทเดือนสิบ (ชิงเปรต) ครับ
กราบขอบพระคุณครับ ผมน้ำตาไหลตลอดเลยครับ ดีใจภูมิใจครับ
เหมือนผมเลยน้ำตาไหลตลอดเลย😅
เคยไปบ้านเพื่อนที่สุรินทร์ คือรู้เลยว่าคนที่นั่นเค้าเคร่งพิธีกรรม ประเพณีมากๆ ลูกหลานอยูกรุงเทพก็ลางานกันมา และก็ไปวัดกันบ่อยมาก และยังใส่ผ้าถุง ผ้าซิ่นไปวัดกันอยู่ทั้งคนหนุ่มสาว และผู้สูงอายุ
ผมคนสุรินทร์แซนโฏนตาทุกปี.หรือวันรวมญาติ.เพื่อบูชาบรรพบุรุษ มีกันจือ มีบายเบ็น มีบายเบิ่จตะโบร คน ไทยเชื้อสายเขมรเขารู้กันขอขอบพระคุณช่อง ประวัติศาสตร์นอกตำราที่หยิบเอาเรื่องราวโฏนตาเอามานำเสนอต่อบุคคลทั่วไปให้รู้ถึงประเพณีอันดีงามของคน ที่เรียกว่า (อีสานใต้)บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ🇹🇭💯❤
เป็นพิธีที่งดงามมากๆ
เป็นการระลึกคุณของพ่อแม่ปู่ย่าตายายและบรรพชน
และเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในชุมชน
และเป็นการสืบสานและรับข่วงต่อความงดงามนี้จากคนรุ่นสู่รุ่น
13:42 กำลังนึกถึงเลย ขนมจุดจุน ขนมจูจุน แต่ที่ใต้ทอดด้วยน้ำมันมะพร้าว
งานแซนโดนตาที่ยิ่งใหญ่ในไทย อยู่ที่ อำเภอ ขุขันธ์ จ ศรีสะเกษ ครับ
ชอบดูประวัติศาสตร์นอกตำรามากๆ
ขอบคุณทีมงามประวัตินอกตำรา ทำสารคดีให้ดูค่ะ
ธรรมเนียมดีงาม ในทุกถิ่นฐาน ควรรักษาไว้
เอาเลยครับ สิ่งดีๆ มีเยอะ ขอให้ทุกท่านมีความสุข อยู่อย่างมีความสุข ส่วนท่านผู้ล่วงลับไปแล้วขอให้มีความสุข ดวงวิญญาณไม่ต้องห่วง
ขอบคุณที่นำเสนอเรื่องนี้นะคะ เนื้อหาละเอียดมาก ดูแล้วคิดถึงบ้าน
มีเสริมอีกนิดค่ะ อันซอมสเลิ๊กโดง ::: สเลิ๊กแปลว่าใบ ดังนั้นอันซอมสเลิ๊กโดง หมายถึงข้าวต้มที่ห่อด้วยใบมะพร้าว หรืออาจเรียกข้าวต้มทางมะพร้าวก็ได้ เวลาไปเก็บก็ตัดใบอ่อนมาทั้งทางมะพร้าวเลย เพราะต้อองใช้เยอะ (เหลือก็เอาไปฝากครูที่โรงเรียน หรือไม่ก็ย่างไฟอ่อนๆ ข้าวต้มจะหอมมากขึ้น)
ส่วนศาลพระภูมิ ที่บ้านเป็นอำเภอที่อยู่ติดชายแดน ส่วนใหญ่ไม่มีศาลในบริเวณบ้านค่ะ
คิดถึงข้าวตอก ขนมหมกไส้มะพร้าว สิ้นบุญปู่ย่าตายาย วัฒนธรรมก็ค่อยๆจางหายไป
ชอบจังครับ ภูมิภาคอุษาคเนย์ มีวัฒนธรรมร่วมกันหลายอย่างคล้ายๆกัน จะมีแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยตามภูมิภาค วัตถุดิบท้องถิ่นในการทำของไหว้ แต่แก่นของประเพณีความเชื่อคือสิ่งเดียวกัน
พิธีส่งความรัก ความห่วงใย ไปให้ถึงคนที่ล่วงลับ ที่อยู่โลกนึง
ยอดเยี่ยมเลยค่ะเด็กๆรุ่่นหลังไม่ได้ศึกษาละเอียดดีมากค่ะทีได้นำเสนอให้ทราบโดยละเอียดเป็นสิ่งที่น่าศึกษาน่าภาคภูมิใจ ส่งผลถึงด้านจิตใจให้ท้องถิ่น หรือบ้านเมืองสงบร่มเย็นสืบต่อไป สาธุๆๆๆ..
สุดยอดเลย ทีมงานประวัติศาสตร์นอกตำรา โมโวยโฎนตา
ดูแลคิดถึงบ้านเลยคับ
อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ
ประเพณีที่น่ารักอบอุ่นมาก ทั้งลูกหลาน เพื่อนสนิทพวกพ้อง
รายการที่ให้ความรู้มากที่สุด
มาแล้ว คลังความรู้ของฉัน แซนโกนตา ไหว้ ผีบรรพบุรุษ ทั้งครอบครัว และ ผีเจ้าที่หมู่บ้าน เราเคยไปไหว้ กับพี่ๆๆ ที่สุรินทร์ ถ้า จะ กล่าวคือ สารทไทย สารทลาว (ข้าวสาก) สารทจีน ช่วง เดือน 10 เดือน 11 มีทุกภาค ของไทย และ อาเซียน
ดีต่อใจมาก ผมเขยเเม่สายเดินทางไป บุรีรัมย์ทุกปี ต้องไปทุกปี ไปแล้วกลับมาแล้วสบายใจครอบครัวอบอุ่น ค้าขายดี ปังๆทุกปี ผมเชื่อเลย
เราอยู่ศรีเกษก็มีแบบนี้ค่ะ ขอบคุณที่นำเสนอให้ทุกคนได้รับรู้ประเพณีนี้ค่ะ
เฝ้ารอว่าเมื่อไหร่น๊่าาาา ที่ช่องจะทำพิธีกรรมนี้ และปีนี้ได้มีเเล้วขอบคุณนะคะ
14 ค่ำเดืน10 คือบุญสาทรเล็ก (แขร์ เรียบกัณทรง/วันอยู่กรรม ของเขมรถิ่นไทย)
15 ค่ำเดือน10 คือ บุญสาทรใหญ่ ( แขร์ ประจุมเบ็ญแซนฎนตา/วันแซ่นไหว้ และส่งบรรพบุรุษ)
เกิดขึ้น 4 ปีในปี อทิกกะสุรฏิน (ปีที่มีเดือน 10 สองรอบ)
น้ำตาไหลนึกถึงบุญเดือนสิบ ที่ใต้ นึกถึงผีบรรพบุรุษ
ผมคนเชียงใหม่ครับ ปัจจุบันมาอยู่บ้านขนุน ขุขันธ์ ศรีสะเกษ แซนโฎณตาทุกปี
รายการดีมากๆครับ ทำให้ได้รู้ถึงวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น อยากให้ทำเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมวันสารทเดือนสิบ ของทางภาคใต้บ้างครับ น่าจะมีวัฒนธรรมร่วมกันที่น่าศึกษาและติดตาม
อ่านแค่ชื่อนี่นึกว่าบุญเดือนสิบของภาคใต้ไม่นึกว่าอีสานก็มี
ยอดเยี่ยมสุดๆๆ เลยครับ กับรายการ ที่เหนือความคาดหมายทุกๆ เรื่องราว
ขอบคุณรายการนี้มากครับ ผมจะติดตามและสนับสนุนรายการในทุกๆด้านเลยครับ ขอบคุณที่นำเสนอได้อย่างละเอียด
ขอบคุณได้ความรู้จากช่องนี้เยอะเลย ไกล้จะล้านซัพแล้ว😊
ช่วงต้นรายการเห็นเหล่าคุณยายคั่วข้าวตอก เห็นแล้วน้ำตาไหลเลยค่ะคิดถึงคุณยายที่ท่านได้ล่วงลับไปแล้ว เคยคั่วข้าวตอกและห่อข้าวต้มกับท่าน คิดถึงคุณยายมากเลยค่ะ
ดูอบอุ่นดีจังครับ ควรอนุรักษ์ไว้ครับ
แซนโฎนตา บางบริษัทในแถบอีสานใต้ ต้องเป็นวันหยุดงาน เหมือนตรุษจีน
เป็นความเชื่อเหมือนกันทุกภาคประเทศไทย รับและส่งบรรพบุรุษ
ดูแล้วช่างมีความอิ่มเอิบใจ ปลื้มปิ่มใจยิ่งครับ ❤❤❤❤❤
สุรินทรขอเสียงหน่อยค่าาาาาา
น้ำตาไหล คิดถึงตายายที่จากไป
ขอบคุณและดีใจมากครับที่ทำคอนเทนต์เรื่องแซนโฎนตา ของชาวไทยเชื้อสายเขมร แถบเทือกพนมดงรัก
อย่าเขมรก็เคลมอีก
เราไม่ใช่เชื้อสายเขมร เราคือขอม
@@PPE2606เลอะเทอะ ถ้ามีเชื้อเขมรแล้วบอกว่าตัวเองไม่ใช่เขมร คนนั้นเรียกว่าวัวลืมตีน
@@Bodyslam1911ฝั่งแขมร์กรอมเขาก็ทำเหมือนกันครับ ไม่ต้องแซะกัน ประเพณีดีงามทำดีทำได้ทำไป
@@godking-kp4etประเพณีมันดีงามอยู่แล้วแต่เขมรมันสันดานเสีย คุณว่าจริงไหม เคลมโบเดีย
พิธีกรรม และประเพณีดีงาม ขอให้รักษาและสืบสานต่อไปครับ
❤ติดตามพี่น้องช้างที่สุรินทร์ เลยรู้จักพิธีกรรมนี้เข้มขลังมสก😊
ผมนี่คนสระแก้ว อ.ตาพระยา ต.ทัพเสด็จ โตมากับสิ่งนี้จริงๆบ้านผมก็ทำปกติครับเสร็จก็กินกันต่อ สนุกครับแต่ไม่ได้เจออะไรไม่ดีเลยครับ แถมดวงดี และคนเมตตามากครับ
🙏ศรัทธา คือ ความเชื่อ🙏สาธุเจ้าค่ะบรรพชน
เห็นแล้วคิดถึงบ้านเกิดที่สุรินทร์ ผมเกิดในครอบครัวเชื้อสายลาว แต่พวกเราก็เอาพิธีโดนตาของเขมรมาปฏิบัติด้วย แต่เอามาแค่บางส่วน ตอนเด็กๆ ผมชอบช่วงเดือนสิบมากเพราะจะได้กินข้าวกระยาสารท ข้าวต้ม นางเล็ด และขนมบัวอร่อยๆ หลังจากเซ่นไหว้เสร็จแล้ว เด็กๆ จะสนุกและเอร็ดอร่อยกับการเอาเครื่องเซ่นมากิน ไก่ต้มอร่อยมาก มีน้ำหวานอร่อยๆ ให้กินด้วย เป็นของที่นานๆ ทีจะได้กิน ที่สำคัญคือ มีความสุขที่ได้เจอญาติพี่น้องที่มาพร้อมหน้าพร้อมตากัน
นำเสนอได้ครบทุกแง่มุม ความนัยที่ประเพณีท้องถิ่นได้แฝงเอาไว้ ..ดูสำคัญกว่าวันสงกรานต์ กว่าวันขึ้นปีใหม่ ที่คนตจว.ได้กลับบ้านซะอีก
ขอบคุณทีมงานประวัติศาสตร์นอกตำรามากครับ🙏 ที่ถ่ายทอดประเพณีของชนกลุ่มเขมรของบ้านผมให้ชาวโลกรับรู้ คุณภาพมากครับ เป็นกำลังใจให้ครับ❤
งานบุญสารทเดือนสิบเป็นงานใหญ่ประจำปีของจังหวัดนครศรีธรรมราชและชาวใต้ พึ่งรู้ว่ามีทั่วเอเชียอาคเนเลย ขอบคุณข้อมูลครับแอด
นครศรีธรรมราชคนเขมรก็ไปอยู่เยอะ
@@TaAe-hj9nq ผมก็เชื่อว่าโบราญกาล2เมืองนี้มีความเกี่ยวพันธ์กันแน่นอน
ไม่ว่าภาคอีสานภาคเหนือหรือภาคใต้งานศาสเดือนสิบพิธีกรรรมเเต่กต่างกันออกไป...เเต่จุดประสงค์หลักเหมือนๆกันคืออุทิศส่วนกุศลทำบุญไห้เเเก่บรรพระบุรุษที่ล้วงลับไปแล้ว..
สารทเดือนสิบ จะว่าไปก็ทำกันทั่วภูมิภาคนี้ล่ะครับ
อีสานและลาว เรียก บุญข้าวสาก ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
คนเชื้อสายเขมร เรียก โฎลตา รึ แซนโฎลตา แรม 15 ค่ำ เดือน 10
ทำกันทั่วประเทศแต่รายละเอียดต่างกันตามภูมิภาค แต่ที่ภาคใต้ดังสุดเพราะการโปรโมทที่มีพลัง จากสมาคมชาวใต้ในกทม.😊
ขอบคุณสำหรับสารคดีที่ทรงคุณค่าอีกชุด ขอบคุณจากใจค่ะ
อาระตี จุดเทียนส่วนธูป ควันจะก่อโรคหืดหอบจ้า ขอบคุณที่ไม่จุดธูป
ขอบคุณข้อมูลดีๆนะคะ เคยเข้าร่วมประเพณีตอนเป็นสมาชิกในครอบครัวนั้น ตอนนี้ไม่ได้เป็นแล้วค่ะแต่เข้าใจพิธีกรรมลึกซึ้งอยู่ค่ะ
ขอบคุณความรู้ดีๆค่ะ
อบอุ่นใจจังเลยครับ
เบ้านผมเขมรบุรีรัมย์ รวมญาติกันวันโฏนตาทุกปี
ประเพณีเซนโฏนตา นี้ มีใครรู้ไหมว่าที่จังหวัดร้อยเอ็ด ก็มีหมู่บ้านบ้านหนึ่ง บ้านสว่างตำบลศรีสว่างอำเภอโพนทรายจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นหมู่บ้านบ้านเดียวในจังหวัดร้อยที่เป็นเขมรซึ่งจัดพร้อมกันวันเดียวกันกับชาวเขมรสุรินทร์บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ
รักรายการนี้
ขอบคุณสาระดีๆ ครับ
ขอบคุณมากครับ ได้รับความรู้ดีมากครับ
สวัสดียามเช้า❤
🎉 ทีมงานประวัติศาสตร์ฯ ทุกท่าน😊
❤❤❤สุดยอดมาก,,ช่องนี้,,ขอปรบมือรัวๆๆๆๆๆๆๆๆ🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
ที่บ้านผมก็ทำทุกปี แต่ด้วยภาระหน้าที่ก็ได้แต่ส่งเงินไปซื้อของช่วยในพิธี พอถึงพิธีไหว้ทางบ้านก็จะใช้วีดีโอมาให้เราดูแล้วให้เราช่วยเรียกบรรพบุรุษครับ
ไหว้ผีบรรพบุรุษเจ้าที่เจ้าทาง แซนโดนตา (ผมลูกหลานเซื้อสายเขมร,เขมรอุบล🙏)
ขอขอบคุณ
ทีมงานขอบพระคุณสำหรับการสนับสนุนการผลิตรายการนะคะ
ชอบเสียงคนบรรยาย❤❤
ขอบคุณครับ
เราเองเป็นคน อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ ต้องไปแซนโฎกตาหรือที่เรียกแซนโดนตา ทุกๆปี
สาระเพลินดีครับ ต่อด้วยภาคอื่นๆ ด้วยนะครับ เช่น ชิงเปรต ทางใต้
ถ้าจำไม่ผิดน่าจะเป็นวันเดียวกันกับประเพณีแซนโฎนตาของอิสานใต้ใช่มั้ยครับ
พึ่งได้ยินและเรียนรู้ประเพณีเป็นครั้งแรก ขอบคุณรายการนี้มากๆที่สะท้อนทุกแง่มุมของประเพณี ทุกความคิด เกล็ดเล็กน้อยของพิธีกรรมจนทำให้เราเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ ขอบคุณมากๆจริงๆครับติดตามเป็นกำลังใจให้ทุกตอนเลย😊
สุดยอดเลยครับ
สวัสดีครับอาจารย์.👍👍👍❤️
นี่คือเหตุผลที่ควรยกเลิก national holiday ควรให้เราเลือกวันหยุดเอง
มีต่อไป
ประเพรีบ้านฉัน เหมือนวันร่วมญาติ ที่ลูกหลาน ทุกเชื้อทุกสาย จะมาร่วมกันที่บ้านใหญ่ #เสร็าะกราวสะเร็น
ทางเหนือบางจังหวัด มีตานธรรมวันเป็งเดือนสิบสอง ครับ 😇😇😇
ครับเป็นประเพณีความเชื่อ ถ้าเป็นเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดก็แสดงว่าปู่ย่าตายายไม่ยอมไปเกิดเลยน่ะลูกหลานต้องจัดข้าวปลาอาหารมาเลี้ยงผีปู่ย่าตายายทุกๆปี
คนอินเดียแดง (Native America) เขาก็มีพิธีกรรมคล้ายกันกับการแสนโฏนตา อาจจะมีความสัมพันธ์กันในเรื่องความเชื่อ
หนูสุรินทร์ เป็นประเพณีที่ไม่ว่ายังไงลูกหลานจะกลับมาไหว้บรรพบุรุษ
ฝากทางทีมงานนำเสนอ พิธีฟ้อนผีปู่ย่าและการเลี้ยงผีปู่ย่าในแทบ จังหวัดภาคเหนือหน่อยครับ เช่น ลำปาง กับเชียงใหม่ สองจังหวัดนี้มีความคล้ายคลึงและแตกต่างกันอย่างไรบ้างครับ เพราะไหนๆก็นำเสนอของอีสานแล้วก็ทำภาคเหนืออีกสักคลิปครับจะขอพระคุณมากๆเลยครับ
นาที 4:03...คำกริยา...ไม่ใช่กิริยา(มารยาท)...ครับ.
แซนโฎนตาสุดยอดแล้วเขมรถิ่นไทย
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ
พิธีกรรมนี้ชนเผ่ากวยหรือส่วย..ก็ทำเหมือนกันครับ