ทดลองวงจร ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันกับกระแสไฟ

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 4 янв 2025

Комментарии • 19

  • @mit.service
    @mit.service 2 года назад +1

    ชัดเจนมาก ขอบคุณครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  2 года назад

      ยินดีครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ

  • @magichannel
    @magichannel 4 года назад +1

    เป็นตัวอย่างที่ดีมากครับ ขอบคุณครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ขอบคุณครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ

  • @electroniccommengineer4469
    @electroniccommengineer4469 4 года назад +1

    ผมไม่แน่ใจว่าคำว่าขับอิเล็กตรอนในวิดีโอหมายความว่าอย่างไรนะครับ
    แต่ขอแสดงความเห็นให้ข้อมูลเพิ่มเติมนะครับ
    โดยทั่วไปอิเล็กตรอนบนโลหะจะมีอยู่แล้ว โดยโลหะแต่ละชนิดจะมีจำนวนอิเล็กตรอนอิสระแตกต่างกันไป
    การที่วัสดุใดวัสดุหนึ่งจะนำไฟฟ้าได้นั้นเกิดจากการที่วัสดุนั้นมีอิเล็กตรอนอิสระว่ามีจำนวณมากขนาดไหน และส่วนที่มีผลกับการนำไฟฟ้าอีกอย่างคือโครงสร้างผลึกของวัสดุนั้นด้วยครับ
    การวิ่งของอิเล็กตรอนจะวิ่งสวนทางกับกระแส นั่นหมายถึงอิเล็กตรอนอิสระจะวิ่งเข้าหาขั้วบวก เนื่องจากอิเล็กตรอนอิสระมีประจุเป็นลบ โดยทั่วไปขั้วเหมือนกันจะผลักกัน และหากขั้วต่างกันจะดึงดูดกัน ดังนั้น free electron จะถูกขั้วลบของแบตเตอรี่ผลักแล้วถูกดึงเข้าไปยังขั้วบวกของแบตเตอรี่ครับ
    *หมายเหตุ โลหะจะมีเพียงอิเล็กตรอนอิสระ แต่ถ้าหากเป็นสารกึ่งตัวนำจะมีทั้งอิเล็กตรอนอิสระ และโฮล ( Holes )

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад +2

      ขอบคุณสำหรัยคำแนะนำครับ
      ขอตอบสั้นนะครับ เราต่อแบตเตอรี่ครับ อิเล็คตรอนอิสระมาจากแบตเตอรี่
      วัตถุประสงค์ของคลิปนี้จะแสดงให้เห็นว่า จุดใดมีความต่างศักดิ์ที่สูงกว่ากระแสไฟจะไหลได้
      ส่วนในเรื่องของ กระแสสัญญนิยม coventional current ,กระแสอิเล็คตรอน electron current นั้นใครจะวิ่งในทิศทางใด ตำรามีเขียนอยู่แล้ว เราจึงขอกล่าวสั้นพอสังเขป จุดยืนของช่องคือนำเสนอข้อมูลให้เพื่อนๆนัก DIY ชาวไทยได้เข้าใจในระดับคนที่ลงมือทำให้เข้าใจในที่มาที่ไปบ้าง
      และต้องขอขอบคุณ fc ที่เป็นนักวิชาการต่างๆที่เข้ามาคอมเม้นท์สิ่งที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมให้เพื่อนๆสมาชิกได้รับความรู้เพิ่มครับ

  • @สมไชยจิรถาวรอนันต์

    ขอบคุณครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ยินดีครับท่าน

  • @samartupathong7919
    @samartupathong7919 4 года назад +1

    เข้าใจเพิ่มขึ้นมากครับ ขอบคุณมากครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ยินดีครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชม

  • @SEKSUN1975
    @SEKSUN1975 4 года назад +1

    ขอบคุณความรู้ครับอาจารย์ เข้าใจดีมากเลยครับ อธฺบายได้เข้าใจชัดเจนครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ยินดีครับ
      ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ

  • @samartupathong7919
    @samartupathong7919 4 года назад +1

    สอบถามเพิ่มเติมครับ ถ้าสมมติ ว่าแรงดันเท่ากัน เช่น 12.0 โวลท์ทั้งคู่ มันจะเป็นอย่างไรครับ ด้านไหนได้สิทธิ์ ในการจ่ายกระแสครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ไหลคนละครึ่ง แต่ต้องเท่ากันเป๊ะเลยนะ
      จะเห็นว่าจากการทดลอง แบต 2 ลูก แรงดันต่างกันตรงจุดทศนิยม แต่ได้สิทธิต่างกันเยอะเลยครับ

  • @thakorntirasesth3010
    @thakorntirasesth3010 4 года назад +1

    ถ้าเป็นกระแสสลับ ใช้หลักการนี้ได้ไหมครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      ไม่ได้ครับ เนื่องจากไฟกระแสสลับมีการสลับขั้วอยู่ตลอด เอากระแสลับ 2 แหล่งมาจ่ายร่วมกันไม่ได้ ยกเว้นมีการ synch เฟสของไฟร่วมกัน

    • @thakorntirasesth3010
      @thakorntirasesth3010 4 года назад +1

      ขอบคุณครับ

    • @achawanatthaprasith2097
      @achawanatthaprasith2097 4 года назад +1

      ับังเอิญวันนี้ได้มีโอกาสเข้ามาดู ก็รู้สึกว่ายังอธิบายได้ดีเหมือนเดิมครับ

    • @saroj1961
      @saroj1961  4 года назад

      @@achawanatthaprasith2097 ขอบคุณที่ติดตามรับชมครับ