Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
Sianmes rosewood พยุงครับ คนล่ะสปีชี กับชิงชันแต่เป็นไม้สกุลเดียวกัน คือ rosewoodไม้ในกลุ่มนี้ รวมถึง ไม้ประดู่ แล้วก็ มะค่า ด้วยครับ
ก็ทำได้แหละ จุดสำคัญที่นักดนตรีใส่ใจคือ คุณภาพงานและเสียงมากกว่า และยังมีเรื่องของราคาช่างไทย กับงานแบรนด์นอก ด้วย เพราะหากซื้อมาเล่นเพื่อวันหน้าขายต่อ นักดนตรีก็มองไปงานแบรนด์ที่ขาต่อแล้วได้ราคามากกว่า ส่วนงานไทยแม้จะราคาสั่งทำแพง แต่เวลาขายต่อคนเมิน ขายไม่ได้ราคา
ขอบคุณความคิดเห็นนี้นะครับ ผมอยากให้หลายๆท่านได้อ่านครับ
ส่วนใหญ่งานสั่งทำเป็นงาน Art ช่างที่ทำหรือศิลปินที่จะใช้มีความพึงพอใจในการสั่งทำให้ตรงสเปคของตัวเองตอบโจทย์ตัวเอง สำหรับการขายต่อคงจะเป็น % ที่น้อยมากหากเทียบกับความต้องการที่จะเก็บไว้ เรื่องแบรนคงจะไม่ใช่ประเด็นหลักสำหรับคนที่ต้องการกีต้าร์ดีๆสักตัว...
ดีมากครับอธิบายโดยมีข้อมูลมารองรับ ไม่ได้ใช้ความรู้สึกเข้าใจง่ายดี
แต่ถ้าเอาไปทำพวกกีต้าร์ไฟฟ้าพวกทรง SG น่าจะได้โทนเสียงที่ดุดันน่าดูครับ เพราะเนื้อไม้มีความแข็งมาก มีผลต่อเสียงที่ส่งผ่านปิ๊คอัพแน่นอน
โห่ พี่จริงจังจัด สุดยอด ฟังแล้วเป็นความรู้แบบเนื้อ ๆ เลย
การทดลอง.คือสิ่งที่ดีครับ.. ทำไห้เรา.ได้เกิดขึ้น.. ซึ่งไอเดียไหม่ๆ.....
ผมสั่งกีตาร์custom ไม้พะยูงมาครับ ทำคลิปรีวิวเสียงในช่องไปลองฟังได้ครับ ส่วนตัวผมว่าเสียงมันดีมากๆ
จากคนที่เคยเอาไม้พยุงทำ เห็นด้วยทุกประการครับ
ผมคิดว่าการผ่าไม้มีส่วนมากๆต่อเสียงเช่นกันครับ อย่างการผ่า quater saw หรือ slap saw ทำให้ไม้สร้างคาแรกเตอร์เสียง รวมถึงความแข็งแรงและความสวยงามแตกต่างกันด้วยครับ คือความคิดผมคือ ถ้าจะทำไม้ไทยให้ได้หรือเรียกว่าดันทุรังจะทำให้ได้ ช่างต้องโค่นไม้เอง air dry เอง ผ่าไม้เอง วิจัยเองทั้งหมด ทั้งลำต้น ซึ่งถ้าทำก็ต้องใช้เวลานานมากๆ ซึ่งแน่นอนว่าไม่ทีใครทำกันเลย
ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นนะครับ และนั่นคือเรื่องจริงทั้งหมดครับ ถ้าเราจะทำไม้ไทย เราต้องทำเองทั้งหมด หรือหาคนกลางที่เป็นคนเข้าใจตรงนี้ทั้งหมด เป็นคนทำให้ แล้วป้อนเข้าโรงงานครับอุตสาหกรรมไม้สำคัญมาก อาจจะต้องถึงขั้นวิจัยว่าเราจะทำให้ไม้แห้งแบบที่เหมาะสมในการทำกีตาร์ในระยะเวลาที่เร็วสุดเท่าไหร่ ไม้ชนิดไหนที่หาได้ง่าย และเหมาะสมที่จะทำกีตาร์ รวมไปถึง ไม้ชนิดนั้นมีมากพอที่เราจะไม่ทำลายธรรมชาติมากเกินไปหรือในแง่เราสามารถปลูกป่าเพื่อเป็นไม้เศรษฐกิจในอนาคตได้ครับ
@@tungsai3483 ใช่ครับทุกวันนี้บ้านเราขาดความรู้เรื่องนี้ครับ เพราะว่าตัดไม้สำหรับทำเฟอร์นิเจอร์อย่างเดียว ยังไม่มีบริษัทไม้สำหรับทำเครื่องดนตรี ไม่งั้นอาจสร้างมูลค่าไม้เพิ่มได้อย่างมหาศาลมากๆครับ
@@JohnWichKhawsang น่าสนใจมากครับ ถ้าทำได้จะช่วยสร้างงานสร้างผลงานวิจัยต่อยอดไม้เมืองร้อนได้อีกทาง
ลองไม้ขนุนดูครับ ตอนเด็กๆเคยเห็นคุณตาเอามาทำพิณโปร่ง เสียงดีมากครับ
ใช่ครับ ประสบการณ์เดียวกันครับ เปรียบเทียบกับซึงไม้ประดู่ เสียงดีกว่ามากครับ
ผมว่าต้องดูที่ Scientific Name ครับพยุงจะเป็น Dalbergia cochinchinensis แต่ชิงชันจะเป็น Dalbergia oliveri ผมชอบการอธิบายแบบนี้มากครับ รับสอนมั่ยครับมีโอกาสอยากลองทำครับ
อันนี้เป็นความรู้ใหม่ของผมเลยครับ ขอบคุณมากคับ ข้อมูลทางด้านพฤษศาสตร์ผมไม่แน่นพอเอง ถ้าผิดพลาดตรงไหน ต้องขอโทษด้วยนะครับ
ผมลืมบอกไปว่า ไม่ได้ทำกีตาร์แล้วครับ เลยเปิดสอนไม่ได้ครับ เน้นทำคลิปให้ความรู้ใน youtube ไปเรื่อยๆครับผมมีส่วนไหน อยากให้ผมแชร์ ทักคุยกันได้ครับผม
ขอบคุณที่เสนอความรู้ดีๆให้ ทุกคนนะครับ
ขอบคุณที่รับชมเช่นกันครับ
ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ ผมกำลังศึกษาการทำกีตาร์ ข้อมูลเหล่านี้ถือว่าดีมากครับ
บ้านเราคนมีความรู้เรื่องการทำกีตาร์น้อยครับ ขอบคุณจากใจสำหรับความรู้ ทุกๆคลิปครับ
เหมาะสำหรับใช้ทำเป็นบอดี้สแนร์งานคัสตรอมครับ.. ตอบโจทย์ที่สุด...!!!!!
ขอบคุณสำหรับความรู้นะครับ กำลังไล่ศึกษาไม้ชนิดนี้อยู่พอดีครับ
ถ้าหากว่าใช้ไม้ไทยทำเป็นอุตสาหกรรมกีต้าร์ วันนึง คงทำได้ มีงบวิจัยหลายๆอย่างตั้งแต่ปลูกยันจบงาน
ขออนุญาตเเนะนำเรื่องชื่อวิทยาศาสตร์ของไม้เพิ่มเติมค่ะ เท่าที่ศึกษามาจะมี 3 ส่วนใหญ่ๆที่น่าสนใจ และใช้ในการแบ่งชนิดของไม้ได้ค่อนข้างชัดเจนคือ Family(วงศ์) ,Genus และ Species ซึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ที่เราเจอในเว็ปส่วนใหญ่จะตัดมาแค่ Genus+Species เช่น Dalbergia cochinchinensis (พยุง) ค่ะ ความจริงที่น่าตกใจก็คือ มีโอกาสที่ไม้ที่มี Genus เดียวกัน แต่ต่าง Species จะมี Characteristic ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง จนเราสงสัยเลยละค่ะว่ามัน Genus เดียวกันได้อย่างไร รวมถึงในหนังสือบางเล่ม บอกว่า Species ของไม้บางประเภทก็เคยมีการเปลี่ยน Genus มาแล้วอีกด้วย กล่าวคือ หากในอนาคตนักพฤกษศาสตร์พบหลักฐานของลักษณะเนื้อไม้ที่ดูแล้วมีความเหมือน Genus อื่นมากกว่า ก็สามารถย้าย Genus ได้ค่ะ
ชอบคลิปนี้มากเลยครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
ขอบคุณมากครับผม
ขอนุญาตถานท่านอาจารย์นะครับ ช่วยแนะนำไม้ไทยที่จะนำมาทำแผ่นข้างและแผ่นหลังของกีต้าร์โปร่งพอคร่าวๆได้ไหมครับ ขอบคุณครับ
สอบถามเพิ่มเติมว่า ตัวนี้ทำเล่นเองหรือว่าขายครับ ถ้าเล่นเอง หรือเอาไว้ทดลอง ผมแนะนำ พยุง ชิงชันครับ
ขอบคุณมากเลยครับอธิบายได้เข้าใจ + ประสบการณ์จริงด้วยครับกำลังคิดจะปลูกต้นไม้ทิ้งไว้สำหรับแล้วขอสอบถามเพิ่มเติมครับถ้าเป็นไม้มะฮอกกานีที่ปลูกในเมืองไทยจะทำกีตาร์ได้ไหมครับ
ขอบคุณที่รับชมมากๆครับผม
ขอบคุณที่มอบความรู้ดีๆ
เคยเห็นกระถินณรงค์ สวยมาก....เสียงดีด้วย
มีหลายช่างทำครับ สวยดีครับผม
@@tungsai3483 ตระกูลkoa ใช่ไหมครับ
หายไปนานแล้ว กลับมาทำคลิปใหม่ๆทีครับ
ขอบคุณข้อมูลครับ
ข้อมูลดีครับขอชมเชย เป็นวิทยาศาสตร์ จับต้องได้ ค่าตัวเลขต่างๆมันบอกแล้ว ไม่ต้องไปลองวัดดวง
ebony ฝรั่งยังเอาไปทำกีต้าร์ได้ ต่อไปไม้แข็งๆ หายาก ก็อาจจะมีกีต้าร์ไม้กระถิน หรือไม้ยูคาก็เป็นได้
ดูเหมือนที่พูดถึงจะเป็นการทำกีตาร์อคูสติกใช่ไหมครับ อยากรู้ความเห็นว่าเอาไปทำกีตาร์ไฟฟ้าจะเหมาะไหมคัรบ เพราะกีตาร์ตัวตันไม่จำเป็นต้องทำให้บาง
ไม้ไผ่ยังทำได้เลย เสียงดีกว่าไม้บางชนิดอีกปล.เสียงคลิปเบามากครับถ้าเทียบกับช่องอื่น ต้องเพิ่มมาเกือบสุด ปกติครึ่งเดียวก็ดังแล้ว
ติดตามแล้วครับ
ฟังเพลินเลยครับ🙏🙏
ไม่ขี้กะทอนเป็นไม้โรสวูสครับไม่แข็งมากไม่แตกด้วยเหมือนไม้กำพี้คาย
ขอบคุณมากครับ ไว้จะลองหามาเทสดูนะครับ
ไม้ชิงชันไม้ขนุนไม้มะม่วงป่าคับเสียงดีคนเถ่าคนแก่ชอบเอาไปทำพินคับ
เห็นมีช่างหลายท่านทำเหมือนกันครับ
ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้
ขอไม้ประดู่ กับ มะไม้มะค่า จะทำได้มั๊ย
เราต้องไม่เหมารวมว่าไม้ไทยทำกีต้าร์ไม่ได้มันแค่ไม้ตระกูลเดียวกับโรสวูดต่างประเทศเท่านั้นที่ไม่เหมาะ ไม่ในไทยถือว่ามีหลายชนิด เยอะกว่าต่างประเทศหลายเท่าตัว จงเลือกหาไม้ที่เหมาะสม ทำได้แน่นอน
ต้นคลิป ชี้แจงไว้เรียบร้อยครับ คลิปนี้พูดในแง่ของชิงชัน และพยุง ผมเข้าใจหลายๆคนที่มองว่าไม้บ้านเรามีเยอะ แต่ผมยังอยากจะย้ำว่า ทำได้กับทำได้ดี แตกต่างกันครับ อาจจะมีไม้ที่ทำได้ดีมากๆก็ได้ แต่กว่าจะพัฒนามันเพื่อมาทำกีตาร์ เพื่อหาเลี้ยงชีพให้ได้ ส่วนตัวผมคิดว่าไม่ทันครับ อีกทั้ง เราไม่สามารถต่อยอดไม้ไทยได้เลย ถ้าเราจะทำไม้ไทยขาย ทำมาแล้วขายใคร ลูกค้ามีจำนวนเท่าไหร่ จำนวนไม้ที่ถูกตัดมาเพื่ออุตสาหกรรม มีไหม หรือมีมากพอ ต่อการต่อยอดให้ไปไกลได้ ตรงนี้น่าคิดครับ
ชอบมากครับ ได้ความรู้มากครับ🎵
เอาไม้ขนุนมาทำครับ
เห็นมีหลานท่านทำครับ
เห็นเขาเอาไปทำพิณอยู่นะ
ถ้าจะให้จบอย่างสมบูรณ์จริงๆต้องบอกด้วยว่าไม้อะไรของไทยหรือมีข้อมูลอะไรว่าไม้โรควู๊ดของไทยที่สามารถทำกีต้าร์ได้ดีเพราะถ้าคุณจบแบบนี้มันจะแต่คำถามของคนที่จ้างคนทำกีต้าร์ที่ทำจากไม้พยูงกับชิงชันกับชั่งที่ทำกีต้าร์ ถ้าจะบอกว่าไม้พยูงกับชิงชันทำไม่ได้แล้วไม้อะไรล่ะที่ทำได้อย่าจบแบบนี้นะครับ อันตราย
อันตรายยังไงครับ
ruclips.net/video/Dz9zvUts23U/видео.html
ผมลองใช้ไม้ตะแบบครับ ไม่รู้ว่าจะเทียบกับพวกชิงชันได้ไหม
ช่างมาเลย์ดังระดับโลก ๆ เอาไม้มะม่วง ไม้ฉำฉา (จามจุรี) มาทำด้วยซ้ำ แถมเสียงดีอีกด้วย ถ้าไม้พยุง-ชิงชังไม่เหมาะกับการทำกีตาร์ ไม้มะม่วง-ไม้ฉำฉา (จามจุรี) ก็คงเป็นไม่ได้ได้เลย เพราะเป็นไม้เนื้ออ่อนเรื่องเสียงกีตาร์จึงมีหลายปัจจัยมากครับ ชนิดไม้เป็นแค่ส่วนนึงเท่านั้น อยู่ที่ความรู้ความเขาใจและประสบการณ์ของช่างทำกีตาร์เป็นสำคัญ ข้อสรุปในคลิ๊ปนี้จึงไม่ถูกต้องครับกีตาร์ไม้มะม่วง :ruclips.net/video/BgA50Ml5ULY/видео.htmlกีตาร์ไม้ฉำฉา (ไม้จามจุรี) :ruclips.net/video/UPis2psrd8E/видео.html
ที่สวน ปลูกทั้ง Siam rosewood(พะยูง), Brazilian rosewood, Indian rosewood่ & East indian rosewoodหวังว่าอนาคตจะได้เป็นแม่พันธุ์ครับ
อยากได้มาปลูกเหมือนกันครับ
@@off_line5878 ติดตามที่กลุ่มเฟสบุ๊ค ชมรมไม้ป่าเศรษฐกิจ ได้ครับ มีหลายคนกำลังเพาะน่าจะหลักพันเมล็ด หลังๆมาอัตรารอดเยอะขึ้นเพราะมีองค์ความรู้จากการลองผิดลองถูกมาราว4ปีแล้ว
ไม้ข้างลองดูไม้มะค่าหรือ ประดู่ดูคับผมว่าน่าจะใช้ได้
เรื่องนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่านครับ ไม้ไทยทำได้เยอะมาก แต่ถามว่าทำได้ดี หรือเหมาะจะเอามาทำมั้ย นานาจิตตังครับ
ไม้มะฮอกกานีของไทยมีมั้ยครับ
ไม้ไทยทำได้ใช่ใหมครับแต่ความยากคือการเก็บรักษาและต้องใช้เวลา.ฝรั่งเขาทำกีต้าร์มายาวนานเก็บไม้ไว้เป็นหลายสิบปีส่วนเราผ่าครึ่งทำเฟอร์อย่างเดียว..
ถ้าเอามาทำคอกีต้าร์ดีไหมครับ
ขอบคุณคับผมดูทุกคลิปเลยคับผม
ขอบคุณมากๆเลยครับ
ขอทราบชื่อร้านกีตาร์สั่งทำ ของคุณ Tungsai ด้วยครับ
ไม้สักละครับพี่ทำได้ไหใครับ
ไม้ชิงชันเหมาะทีจะทำซอมากกว่า
วิธีแก้ยางไม้ในเนื้อไม้มาก..ในกรณีที่ไม้เป็นแผ่นบางคือให้นำกระดาษสา..มาห่อแผ่นไม้ที่ต้องการ..ก่อนนำไปจ่ายผ่านความร้อนโดยใช้แผ่นเหล็กเป็นสื่อกลาง....(จิตนาการว่าประมาณ.(.เตารีด,กระดาษสา,แผ่นไม้,กระดาษสา,เตารีด) สมมุติว่าเตารีดคือแผ่นเหล็กที่ส่งผ่านความร้อน..) วิธีนี้จะดึงยางไม้ในเนื้อไม้ให้ออกมาติดที่กระดาษสา....โดยจะเหลือยางไม้บางส่วนติดอยู่ที่ผิวไม้..เป๋นการจัดระเบียบแรงตึงผิวของเนื้อไม้ใหม่..จะช่วยให้แผ่นไม้ไม่แตกและคงสภาพได้นาน...กรณีที่ต้องการดัด..ให้นำแผ่นไม้ไปอบไอน้ำในห้องความดัน..จะช่วยให้ดัดไม้ได้ตามต้องการ...
ขอบคุณสำหรับข้อมูลมากครับ สอบถามนิดนึง เครื่องอบไอน้ำแรงดัน สามารถหาได้จากที่ไหนครับ
@@tungsai3483 สำหรับงานช่างที่ไม่ใช่ขนาดระดับอุตสาหกรรม..จะทำเองคับ..หลักการคือส่งผ่านไอน้ำเข้าไปในกล่องปิดที่มีพื้นที่ด้านในสำหรับบรรจุชิ้นงานที่ต้องการ..(อาจจะมีไอน้ำเล็ดออกมาจากรอยต่อของกล่องบ้างในตอนทำงาน...เพิ่อระบายแรงดันภายในกล่อง..)ส่วนรูปแบบของกล่องจะใช้ไม้อัดมาต่อส่วนขนาดจะเล็กใหญ่สั้นยาว..ขึันอยู่กับขนาดหรือจำนวนของชิ้นงานคับ..
@@tungsai3483 ruclips.net/video/HOzH6kjdoX4/видео.html
@@tungsai3483 ruclips.net/video/PYr1rK8pS30/видео.html
@@ssouwalak ขอบคุณมากครับผม
ไม้ไทยคงต้องรอให้มันแห้งมาก ๆ ค่อยมาทำถึงจะดี
มีไม้ อื่นอีกเยอะครับที่น่าสนเอาทาทำไม้หน้า
อยากไห้ลองไม่หมาพลูตั๊กแตนคัพ
อยากฟังเสียงกีต้าร์ไม้สัก ชิงชัน พยุงที่เป็นไม้ที่คนไทยทำ
เอาไปทำหย่อง หรือ เอาไปทำฟิงเกอรบอร์ดจะดีกว่า จะทนแข็งแรงดี ในความเห็นส่วนตัวนะ
ไล่ดูทุกคลิปครับ
ขอบคุณมากๆที่ติดตามนะครับ ตามดูทุกคลิปเลย ขอบคุณมากครับ
ช่วงอายุของไม้และแต่ละภูมิภาคของประเทศน่าจะมีผลด้วยหากจะเลือกไม้ไทย!
สยามโรสวู้ดคือไม้พยูงครับ
หาช่องแบบนี้มานานครับรบกวนขอสอบถามครับถ้าช่างเอาไม้ที่อายุไม่มากทำ เสียงจะออกมาประมาณไหนครับ (ซึ่งเราก็ไม่รู้)
เดี๋ยวขอเป็นทำคลิปอธิบายนะครับ
@@tungsai3483 ขอบคุณล่วงหน้าครับ
อิงทฤษฎีฝรั่งมากเกินไป ไม้โรสวูดคือ ไม้สกุล Delbergia(พยุงทุกสายพันธ์) คุณสมบัติมันใกล้เคียงกันทุกสายพันธ์ จะแตกต่างกันก็ที่ลายไม้ และไม้พยุงหลายสายพันธ์ในไทยน่าจะดีกว่าด้วยซ้ำ
อันนี้จริงครับ ช่างมาเลย์ดังระดับโลก ๆ เอาไม้มะม่วง ไม้จามจุรี มาทำด้วยซ้ำ แถมเสียงดีอีกด้วย เรื่องเสียงกีตาร์มีหลายปัจจัยมากครับ ชนิดไม้เป็นแค่ส่วนนึงเท่านั้นข้อสรุปในคลิ๊ปนี้จึงไม่ถูกต้องครับ
ไม่อิงวิทยาศาสตร์ แล้วจะให้อิงไสยศาสตร์หรือไง? เม้นท์์เลอะเทอะ เขาเอาประสพการณ์ที่เขาเคยทำมาแชร์ คุณเคยทำกีต้าร์มั๊ย?
@@pcbnowchannel8966อันนี้เขาคุยเรื่อง rosewood ไปไม้มะม่วงอะไรอีก อวยกันเองเกินไป
ไม้สักทำได้ไหมครับ
ไม้สักทองสิครับ
ร้านอยู่ที่ไหนครับ
นี่เรียกว่าเจาะลึกกันเลยทีเดียว
ขอบคุณที่รับชมครับ
กว่าจะได้ดู รอโฆษณา😅😅
ผมทำอยู่ครับ ไม้พยุง
เยี่ยมเลยครับ
ruclips.net/video/VDSPPHw4Bpc/видео.html
ฝากตัวด้วยครับ
@@blacksheepguitar2046 อูย ความรู้ผมยังน้อยครับพี่
@@blacksheepguitar2046 เสียงดีเลยครับ เยี่ยมครับ
ส่วนตัวผม.ไม้แผ่นเท่ากัน.น้ำหนักต่างกัน.. วงศ์กระกูลไม้เดียวกัน.แผ่นเท่ากันทุกอย่าง.หากเราทำไม้ไทยๆห้บางกว่านิด.แล้วชั้งน้ำหนักเท่ากัน.. น่าทดลองทำไหมครับท่าน.. ฝาไว้ไห้คิด.. อุดหนุนไทย..
❤❤❤😊😊😊
ถ้ามันดี ฝรั่งมันเอาไปทำกีต้าร์แล้ว ฝรั่งวิจัย มานานแล้ว ไม้ไทยได้ระดับหนึ่ง แต่ยังไม่ดี ถ้าใครชอบของแปลกก็จัดไป แต่ฉันไม่เอา
ทำนานแล้วครับ เสิร์ชกูเกิ้ลก็เจอ
ต้นกำเนิดกีตาร์อยู่ที่ไหน เขาก็ใช้ไม้แบบนั้นทำนั่นแหละครับ แล้วก็ยึดถือกันมา จริง ๆ ทุกพื้นที่มีไม้ดีทำเครื่องดนตรีได้หมด ดูอย่างง่าย ๆ ฝรั่งพากันมาเหมาะไม้สาธรไปจนหมดภาคใต้ เพื่อไปทำกีตาร์คัสตอม ตัวนึงหลายแสนบาทครับ
@@pcbnowchannel8966 กีต้าร์ฉัน 4หมื่นของเกาหลี ไปแข่งขันชนะกี่ต้าร์มาตินราคา3แสน
@@teamextension4368 ขี้โม้
@@pcbnowchannel8966 ของจริงไม่น้ำลาย สมัยเรียนดนตรีที่ฟินแลนด์
โถ เสียงการพุดน่าจะไปเล่าเรื่องผีน่าจะรุ่งกว่านะครับ
บางคนที่ มองว่าไม้ไทยดีกว่า ส่วนตัวผมคิดว่า ไม้ที่แค่ทำได้ กับไม่ที่ทำออกมาแล้วเสียงดี มันไม่เหมือนกันครับ ไอ้ที่ว่าทำได้นั้นคือไม้อะไรก็ทำได้ ออกมาเป็นตัวได้ แต่เสียงดีหรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง ไม้นอก แม้จะสายพันธ์เดียวกัน แต่ สภาพอากาศ หนาวเย็น การเจริญเติบโต เร็วกว่า มวลเนื้อไม้อาจจะมีความโปร่งกว่า ไม้แถบเอเชียที่เป็นเขตร้อน ไม้โตช้า เนื้อจะแน่นแข็ง บางครั้ง เรื่องจริงมันก็เลี่ยงไม่ได้ครับ ไม่ได้ว่าเห่อของนอกอะไรหรอกนะครับ ถ้าไม้ไทยมันดีขนาดนั้น กีต้าร์แบรนนำของโลก คงมาเอาไปทำแล้วหละ เขาจะไปเสาะแสวงหา บราซิลเลี่ยนโรสวูดให้ยากทำไม
Brazilian Rosewood อยู่เขตร้อนเหมือนบ้านเราครับ ตระกูลเดียวกันกับ ชิงชัน พยูง บ้านเราครับ Martin ก็เคยใช้ Cambodian Rosewood ทำกีตาร์ในรุ่นพิเศษครับ ซึ่งก็ไม้แถบเพื่อนบ้านเรานี่เองแม้แต่ Indian Rosewood ก็จากอินเดียไม้เขตร้อนครับ
ทําได้ ไปดูคนไทยชื่ออะไรจําไม่ได้ ตัวเป็นล้านยังมีคนสั่ง
ทำได้แต่เสียงไม่เพราะ
อ๋อไม้หรอกครับ หลังและข้าางน่ะเขาเอาไว้สะท้อนเสียงครับ ตัวสร้างเสียงคือไม้หน้ากับแขนงเสียง ในแง่ของผมไม้ไทยน่าจะเหมาะกว่า แต่ปัญหาน่าจะมาจาการหายาก เพราะไทยไม่ได้มีการใชทรัพยากรไม้ ซึ่งต่างจากอินเดีย แต่ในปัจจุบัน เราก็มี มะค่า หรืออื่นไม่ทุเลา แล้วก็ปรับโครงสร้างเช่น เพิ่แขนงข้างกันแยก การดัดข้างด้วยไอน้ำ การปรับความหนาบาง ด้วยเครื่งขัดทรงกระบอกน่ะครับ
ได้ดูคลิปจบใช่ไหมครับ
เขารุ้ครับ ระดับนี้รู้เยอะกว่าคุณอีก ดูคลิปให้จบก๊อนนน
ด้วยความเคารพในฐานะคนนอกวงการทำกีต้าผมนั่งฟังคุณอธิบายเลยเกิดคำถามในใจผมไม่ได้มากวนนะครับแค่สงสัยและอยากรู้ ตามประสาคนที่ไม่มีความรู้ด้านนี้1 คำว่า " ไม่เหมาะสม และ ไม่ควรทำ " ตามทฤษฎีที่คุณกล่าวมาทั้งหมด ที่สุดแล้ว คุณกำลังบอกว่า ยังไงๆไม้ไทยก็ทำไม่ได้ใช่มั้ยครับ2 เคยมีช่างทำกีต้าร์ในประเทศไทยคนอื่นนอกจากคุณอีกมั้ยครับ. ที่ลองใช้ไม้ไทยไม่ว่าจะไม้อะไรทำกีต้าบ้างมั้ยครับ 2.1ผลออกมาเป็นไปตามอย่างที่คุณบอก คือช่างทุกคนทำไม่ได้ รึป่าวครับ 3 คุณเคยได้ทดลองทำกับไม้ทุกชนิดในประเทศไทยรึยังครับ ถึงสรุปความเห็นว่าไม้ไทยไม่ควรทำ
ขอบคุณสำหรับคำถามครับ เป็นคนถามที่ดี ผมขอตอบแบบนี้ครับ1.คลิปนี้อธิบายถึง พยุงและชิงขันครับ ในแง่ของผม ผมมองว่ามันไม่เหมาะสมและไม่ควรทำ สำหรับการทำงานแบบ serious case ครับ มีปัจจัยหลายอย่างตามในคลิปครับ2.มีช่างมากมายที่ทำด้วยไม้ไทย พยุง ชิงชัน และอีกหลายๆชนิดมากครับ2.1 ทุกคนล้วนทำได้ ออกมาเป็นตัวกีตาร์ครับ3. ผมไม่เคยทำไม้อื่นครับ คำพูดอาจจะพูดคลุมเคลือ แต่ตั้งแต่ต้นคลิปผมได้เกริ่นแล้วว่าวันนี้จะเป็นการคุยเฉพาะชิงชันและพยุง ตอบมากขึ้นเพื่อความกระจ่างนะครับและภาพรวม ในแง่ของผมคนเดียวนะครับ ไม้ไทยหลายชนิดทำกีตาร์ได้ แต่ทำได้ดีหรือเปล่าอาจจะต้องลอง ซึ่งส่วนตัวผมไม่ลอง เพราะการทำตลาดกีตาร์ที่ผมต้องการ เป็นในแง่ที่ต้องการให้ไปไกลระดับโลก (ในตอนที่ยังทำอยู่)ดังนั้นผมจะวิเคราะห์ตลาดว่าไม้าชนิดไหนเป็นที่นิยม นั่นหมายความว่าผู้เล่นจะมีความคุ้นหู คุ้นเสียง ซึ่งเขาจะมี ref.ว่าไม้ชนิดนี้ให้เสียงยังไงอยู่แล้ว การที่หยิบไม้ทางเลือกไปทำตลาด ในวันที่ยังไม่มีใครรู้จักตัวช่าง หรือยังไม่เกิดความแพร่หลายของไม้ชนิดนั้น การทำตลาดเป็นเรื่องยาก และงานตัวนั้นจะถูกตีเป็นงานที่เสียเวลา ซึ่งการทำกีตาร์แต่ละตัวใช้เวลาเยอะมาก การหยิบไม้ที่ขายได้เฉพาะในไทยไปทำ นั่นเท่ากับการเพิ่มเวลาที่จะออกไปสู่ตลาดโลก ในแง่ด้านฝีมือ ต่อให้เราเก่งแค่ไหน แต่เสียงไม่คุ้นหูคนกลุ่มใหญ่จะไม่สนใจครับอย่างต่อมาไม้ไทยไม่ได้มีอุตสาหกรรมการทำไม้ซึ่งเอื้อต่อการต่อยอดเป็นโรงงานทำกีตาร์ในปริมาณเยอะๆได้ ่แต่ถ้าวันหนึ่งมีแบรนด์ใหญ่ๆ นำไม้ไทยไปทำเป็นรุ่นstandard และเป็นที่แพร่หลาย นั่นอาจจะทำให้ไม้ไทยต่อยอดได้การทำงานแบบซีเรียส ผมเสียเวลา developไม่ได้ครับ เพราะรายได้หลักมาจากกีตาร์เพียงหนึ่งตัวที่ใช้เวลานานครับอย่างสุดท้ายลืมไปเลยครับ ไม้ไทยแพงนะครับ
1 ขอบคุณสำหรับคำตอบครับ2 จริงๆจากการที่ดูคริบของคุณหลายๆคริบ ผมเข้าใจฟิวลิ่งในการทำงานของคุณอยู่ว่าเป็นแบบไหน3 ในฐานะคนไทยด้วยกัน..ผมขอให้ผลงานของคุณประสบ ความสำเร็จตามที่คุณหวังไว้...ผมเชื่อว่าคุณทำได้ เพราะผมชื่อว่าคนไทยถ้าตั้งใจทำอะไรทำได้ทุกอย่าง แม้จะโดนต่างชาติดูถูกปรามาสว่าทำไม่ได้...แต่มีหลายๆ เหตุการที่ความสามารถคนไทยตอกหน้าต่างชาติเหล่านั้น จนหน้าหงาย......ว่าพวกเขาคิดผิด อันนี้ความคิดส่วนตัวผมนะ.....ผมคิดว่า มีแค่2สิ่งที่จะทำให้คนไทยไม่ประสบความสำเร็จ คือ 1 ดูถูกตัวเอง 2 ไม่ลงมือทำ ซึ่งหากไปดูคนไทยที่ประสบความสำเร็จบนเวทีโลก พวกเขาจะไม่มีสองสิ่งนี้ ขอบคุณสำหรับการแลกเปลี่ยนความคิดถือว่าเป็น ปุจฉา และ วิสัชนา เรื่องกีต้าที่ดี ขอบคุณครับ
@@ภูดิศบัวพาสกุล ขอบคุณสำหรับคอมเม้นคุณภาพนี้นะครับแต่เรื่องที่เป็นไปไม่ได้ คือผลงานของผมประสบความสำเร็จครับ ผมหยุดแล้ว และคลิปทั้งหมดคือการส่งต่อความรู้ครับ
มีช่างคนนึงยุ่ทางอุดร. ใช้ไม้ ประดู่ ชิงชัน พยุง ยมหอม ยางพารา มะม่วง ครับเสียงOK ระดับนึงสตารท7000-15000บาท ตอนนี้รอสั่งอุปกรณ์เพิ่ม
หมดแล้วหรือ ไม้เนื้ออ่นบ้านเรามีแค่นี้ มาทางใต้ดิ จะเอาไม้อะไรละ555ต่างประเทศไม้มีไม่กี่ชนิดยังหาทำได้ บ้านเรามีเป็นพันชนิด ไม่มีปัญญา นี้แหละหนา ชีวิตไทยเศร้าจัง
อยู่ที่ว่าเรามีอุตสาหกรรมไม้เพื่อเอื้อต่อการนำมาผลิตกีตาร์หรือเปล่าครับ ถ้ามีเราก็ทำได้ แต่ถ้าทำเล่นเอง หรือขายปริมาณไม่เยอะ ไม่ต้องการคุณภาพหรือความSTABLEของไม้ ตัดไม้มาปล่อยให้แห้ง ก็สามารถเอามาทำได้หลายชนิดครับ
ถ้าแบบบ้านๆ ไม้อะไรทำตัวกีตาร์มันก็ทำได้หมดแหล่ะ แต่เรื่องเสียงที่มันสะท้อนขับออกมานี่แหละคือปัญหา เขาทดสอบแล้วว่า ไม้ชนิดไหนที่ให้เนื้อเสียงที่ดี ในเวปเขาก็บอกแล้วว่าไม้ที่ถูกทดสอบ ถึงความหนัก ความแห้ง ความแข็ง ความงอ อะไรต่างๆ มีค่าเท่าไหร่ มีทฤษฏีรองรับไว้หมดแล้ว พี่เขาก็อธิบายไว้ชัดเจนแล้ว พร้อมภาพและรายละเอียดการทดสอบของไม้ชนิดต่างๆ ทำให้คนที่ไม่รู้ ได้รู้ว่า การทำกีตาร์ มันไม่ได้ทำง่ายๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าเอาไม้อะไรก็ได้มาเหลาๆ แล้วทำเลย มันต้องมีทฤษฏีรองรับ
ไม้ของไทยก็ทำได้ดูคนอีสานเขายังเอาทำพิณเลยเสียงดีด้วยไทยเราคนทำกีต้าร์มีน้อยมากคับ
แน่สุดคือเครื่องดนตรีไทยครับไม้ไทยๆ
ชิงชันเป็นคนละอย่างกับไม้พยุงความแข็งไม้ชิงชันแข็งชนิดทำแซง10ล้อในอดีตไม่เหมาะที่จะทำกีต้าร์เพราะค่าการสั่นสะเทือนน้อยไป
ได้ทำหรือยังครับ
Sianmes rosewood
พยุงครับ คนล่ะสปีชี กับชิงชัน
แต่เป็นไม้สกุลเดียวกัน
คือ rosewood
ไม้ในกลุ่มนี้ รวมถึง ไม้ประดู่ แล้วก็ มะค่า ด้วยครับ
ก็ทำได้แหละ จุดสำคัญที่นักดนตรีใส่ใจคือ คุณภาพงานและเสียงมากกว่า และยังมีเรื่องของราคาช่างไทย กับงานแบรนด์นอก ด้วย เพราะหากซื้อมาเล่นเพื่อวันหน้าขายต่อ นักดนตรีก็มองไปงานแบรนด์ที่ขาต่อแล้วได้ราคามากกว่า ส่วนงานไทยแม้จะราคาสั่งทำแพง แต่เวลาขายต่อคนเมิน ขายไม่ได้ราคา
ขอบคุณความคิดเห็นนี้นะครับ ผมอยากให้หลายๆท่านได้อ่านครับ
ส่วนใหญ่งานสั่งทำเป็นงาน Art ช่างที่ทำหรือศิลปินที่จะใช้มีความพึงพอใจในการสั่งทำให้ตรงสเปคของตัวเองตอบโจทย์ตัวเอง สำหรับการขายต่อคงจะเป็น % ที่น้อยมากหากเทียบกับความต้องการที่จะเก็บไว้ เรื่องแบรนคงจะไม่ใช่ประเด็นหลักสำหรับคนที่ต้องการกีต้าร์ดีๆสักตัว...
ดีมากครับอธิบายโดยมีข้อมูลมารองรับ ไม่ได้ใช้ความรู้สึกเข้าใจง่ายดี
แต่ถ้าเอาไปทำพวกกีต้าร์ไฟฟ้าพวกทรง SG น่าจะได้โทนเสียงที่ดุดันน่าดูครับ เพราะเนื้อไม้มีความแข็งมาก มีผลต่อเสียงที่ส่งผ่านปิ๊คอัพแน่นอน
โห่ พี่จริงจังจัด สุดยอด ฟังแล้วเป็นความรู้แบบเนื้อ ๆ เลย
การทดลอง.คือสิ่งที่ดีครับ.. ทำไห้เรา.ได้เกิดขึ้น.. ซึ่งไอเดียไหม่ๆ.....
ผมสั่งกีตาร์custom ไม้พะยูงมาครับ ทำคลิปรีวิวเสียงในช่องไปลองฟังได้ครับ ส่วนตัวผมว่าเสียงมันดีมากๆ
จากคนที่เคยเอาไม้พยุงทำ เห็นด้วยทุกประการครับ
ผมคิดว่าการผ่าไม้มีส่วนมากๆต่อเสียงเช่นกันครับ อย่างการผ่า quater saw หรือ slap saw ทำให้ไม้สร้างคาแรกเตอร์เสียง รวมถึงความแข็งแรงและความสวยงามแตกต่างกันด้วยครับ คือความคิดผมคือ ถ้าจะทำไม้ไทยให้ได้หรือเรียกว่าดันทุรังจะทำให้ได้ ช่างต้องโค่นไม้เอง air dry เอง ผ่าไม้เอง วิจัยเองทั้งหมด ทั้งลำต้น ซึ่งถ้าทำก็ต้องใช้เวลานานมากๆ ซึ่งแน่นอนว่าไม่ทีใครทำกันเลย
ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นนะครับ และนั่นคือเรื่องจริงทั้งหมดครับ ถ้าเราจะทำไม้ไทย เราต้องทำเองทั้งหมด หรือหาคนกลางที่เป็นคนเข้าใจตรงนี้ทั้งหมด เป็นคนทำให้ แล้วป้อนเข้าโรงงานครับ
อุตสาหกรรมไม้สำคัญมาก อาจจะต้องถึงขั้นวิจัยว่าเราจะทำให้ไม้แห้งแบบที่เหมาะสมในการทำกีตาร์ในระยะเวลาที่เร็วสุดเท่าไหร่ ไม้ชนิดไหนที่หาได้ง่าย และเหมาะสมที่จะทำกีตาร์ รวมไปถึง ไม้ชนิดนั้นมีมากพอที่เราจะไม่ทำลายธรรมชาติมากเกินไปหรือในแง่เราสามารถปลูกป่าเพื่อเป็นไม้เศรษฐกิจในอนาคตได้ครับ
@@tungsai3483 ใช่ครับทุกวันนี้บ้านเราขาดความรู้เรื่องนี้ครับ เพราะว่าตัดไม้สำหรับทำเฟอร์นิเจอร์อย่างเดียว ยังไม่มีบริษัทไม้สำหรับทำเครื่องดนตรี ไม่งั้นอาจสร้างมูลค่าไม้เพิ่มได้อย่างมหาศาลมากๆครับ
@@JohnWichKhawsang น่าสนใจมากครับ ถ้าทำได้จะช่วยสร้างงานสร้างผลงานวิจัยต่อยอดไม้เมืองร้อนได้อีกทาง
ลองไม้ขนุนดูครับ ตอนเด็กๆเคยเห็นคุณตาเอามาทำพิณโปร่ง เสียงดีมากครับ
ใช่ครับ ประสบการณ์เดียวกันครับ เปรียบเทียบกับซึงไม้ประดู่ เสียงดีกว่ามากครับ
ผมว่าต้องดูที่ Scientific Name ครับพยุงจะเป็น Dalbergia cochinchinensis
แต่ชิงชันจะเป็น Dalbergia oliveri ผมชอบการอธิบายแบบนี้มากครับ รับสอนมั่ยครับมีโอกาสอยากลองทำครับ
อันนี้เป็นความรู้ใหม่ของผมเลยครับ ขอบคุณมากคับ ข้อมูลทางด้านพฤษศาสตร์ผมไม่แน่นพอเอง ถ้าผิดพลาดตรงไหน ต้องขอโทษด้วยนะครับ
ผมลืมบอกไปว่า ไม่ได้ทำกีตาร์แล้วครับ เลยเปิดสอนไม่ได้ครับ เน้นทำคลิปให้ความรู้ใน youtube ไปเรื่อยๆครับผม
มีส่วนไหน อยากให้ผมแชร์ ทักคุยกันได้ครับผม
ขอบคุณที่เสนอความรู้ดีๆให้ ทุกคนนะครับ
ขอบคุณที่รับชมเช่นกันครับ
ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ ผมกำลังศึกษาการทำกีตาร์ ข้อมูลเหล่านี้ถือว่าดีมากครับ
บ้านเราคนมีความรู้เรื่องการทำกีตาร์น้อยครับ ขอบคุณจากใจสำหรับความรู้ ทุกๆคลิปครับ
เหมาะสำหรับใช้ทำเป็นบอดี้สแนร์งานคัสตรอมครับ.. ตอบโจทย์ที่สุด...!!!!!
ขอบคุณสำหรับความรู้นะครับ กำลังไล่ศึกษาไม้ชนิดนี้อยู่พอดีครับ
ถ้าหากว่าใช้ไม้ไทยทำเป็นอุตสาหกรรมกีต้าร์ วันนึง คงทำได้ มีงบวิจัยหลายๆอย่างตั้งแต่ปลูกยันจบงาน
ขออนุญาตเเนะนำเรื่องชื่อวิทยาศาสตร์ของไม้เพิ่มเติมค่ะ เท่าที่ศึกษามาจะมี 3 ส่วนใหญ่ๆที่น่าสนใจ และใช้ในการแบ่งชนิดของไม้ได้ค่อนข้างชัดเจนคือ Family(วงศ์) ,Genus และ Species ซึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ที่เราเจอในเว็ปส่วนใหญ่จะตัดมาแค่ Genus+Species เช่น Dalbergia cochinchinensis (พยุง) ค่ะ ความจริงที่น่าตกใจก็คือ มีโอกาสที่ไม้ที่มี Genus เดียวกัน แต่ต่าง Species จะมี Characteristic ที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง จนเราสงสัยเลยละค่ะว่ามัน Genus เดียวกันได้อย่างไร รวมถึงในหนังสือบางเล่ม บอกว่า Species ของไม้บางประเภทก็เคยมีการเปลี่ยน Genus มาแล้วอีกด้วย กล่าวคือ หากในอนาคตนักพฤกษศาสตร์พบหลักฐานของลักษณะเนื้อไม้ที่ดูแล้วมีความเหมือน Genus อื่นมากกว่า ก็สามารถย้าย Genus ได้ค่ะ
ชอบคลิปนี้มากเลยครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
ขอบคุณมากครับผม
ขอนุญาตถานท่านอาจารย์นะครับ ช่วยแนะนำไม้ไทยที่จะนำมาทำแผ่นข้างและแผ่นหลังของกีต้าร์โปร่งพอคร่าวๆได้ไหมครับ ขอบคุณครับ
สอบถามเพิ่มเติมว่า ตัวนี้ทำเล่นเองหรือว่าขายครับ ถ้าเล่นเอง หรือเอาไว้ทดลอง ผมแนะนำ พยุง ชิงชันครับ
ขอบคุณมากเลยครับอธิบายได้เข้าใจ + ประสบการณ์จริงด้วยครับกำลังคิดจะปลูกต้นไม้ทิ้งไว้สำหรับแล้วขอสอบถามเพิ่มเติมครับถ้าเป็นไม้มะฮอกกานีที่ปลูกในเมืองไทยจะทำกีตาร์ได้ไหมครับ
ขอบคุณที่รับชมมากๆครับผม
ขอบคุณที่มอบความรู้ดีๆ
เคยเห็นกระถินณรงค์ สวยมาก....เสียงดีด้วย
มีหลายช่างทำครับ สวยดีครับผม
@@tungsai3483 ตระกูลkoa ใช่ไหมครับ
หายไปนานแล้ว กลับมาทำคลิปใหม่ๆทีครับ
ขอบคุณข้อมูลครับ
ข้อมูลดีครับขอชมเชย เป็นวิทยาศาสตร์ จับต้องได้ ค่าตัวเลขต่างๆมันบอกแล้ว ไม่ต้องไปลองวัดดวง
ebony ฝรั่งยังเอาไปทำกีต้าร์ได้ ต่อไปไม้แข็งๆ หายาก ก็อาจจะมีกีต้าร์ไม้กระถิน หรือไม้ยูคาก็เป็นได้
ดูเหมือนที่พูดถึงจะเป็นการทำกีตาร์อคูสติกใช่ไหมครับ อยากรู้ความเห็นว่าเอาไปทำกีตาร์ไฟฟ้าจะเหมาะไหมคัรบ เพราะกีตาร์ตัวตันไม่จำเป็นต้องทำให้บาง
ไม้ไผ่ยังทำได้เลย เสียงดีกว่าไม้บางชนิดอีก
ปล.เสียงคลิปเบามากครับถ้าเทียบกับช่องอื่น ต้องเพิ่มมาเกือบสุด ปกติครึ่งเดียวก็ดังแล้ว
ติดตามแล้วครับ
ฟังเพลินเลยครับ🙏🙏
ไม่ขี้กะทอนเป็นไม้โรสวูสครับไม่แข็งมากไม่แตกด้วยเหมือนไม้กำพี้คาย
ขอบคุณมากครับ ไว้จะลองหามาเทสดูนะครับ
ไม้ชิงชันไม้ขนุนไม้มะม่วงป่าคับ
เสียงดีคนเถ่าคนแก่ชอบเอาไปทำพินคับ
เห็นมีช่างหลายท่านทำเหมือนกันครับ
ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้
ขอไม้ประดู่ กับ มะไม้มะค่า จะทำได้มั๊ย
เราต้องไม่เหมารวมว่าไม้ไทยทำกีต้าร์ไม่ได้มันแค่ไม้ตระกูลเดียวกับโรสวูดต่างประเทศเท่านั้นที่ไม่เหมาะ ไม่ในไทยถือว่ามีหลายชนิด เยอะกว่าต่างประเทศหลายเท่าตัว จงเลือกหาไม้ที่เหมาะสม ทำได้แน่นอน
ต้นคลิป ชี้แจงไว้เรียบร้อยครับ คลิปนี้พูดในแง่ของชิงชัน และพยุง ผมเข้าใจหลายๆคนที่มองว่าไม้บ้านเรามีเยอะ แต่ผมยังอยากจะย้ำว่า ทำได้กับทำได้ดี แตกต่างกันครับ อาจจะมีไม้ที่ทำได้ดีมากๆก็ได้ แต่กว่าจะพัฒนามันเพื่อมาทำกีตาร์ เพื่อหาเลี้ยงชีพให้ได้ ส่วนตัวผมคิดว่าไม่ทันครับ
อีกทั้ง เราไม่สามารถต่อยอดไม้ไทยได้เลย ถ้าเราจะทำไม้ไทยขาย ทำมาแล้วขายใคร ลูกค้ามีจำนวนเท่าไหร่ จำนวนไม้ที่ถูกตัดมาเพื่ออุตสาหกรรม มีไหม หรือมีมากพอ ต่อการต่อยอดให้ไปไกลได้ ตรงนี้น่าคิดครับ
ชอบมากครับ ได้ความรู้มากครับ🎵
เอาไม้ขนุนมาทำครับ
เห็นมีหลานท่านทำครับ
เห็นเขาเอาไปทำพิณอยู่นะ
ถ้าจะให้จบอย่างสมบูรณ์จริงๆต้องบอกด้วยว่าไม้อะไรของไทยหรือมีข้อมูลอะไรว่าไม้โรควู๊ดของไทยที่สามารถทำกีต้าร์ได้ดีเพราะถ้าคุณจบแบบนี้มันจะแต่คำถามของคนที่จ้างคนทำกีต้าร์ที่ทำจากไม้พยูงกับชิงชันกับชั่งที่ทำกีต้าร์ ถ้าจะบอกว่าไม้พยูงกับชิงชันทำไม่ได้แล้วไม้อะไรล่ะที่ทำได้อย่าจบแบบนี้นะครับ อันตราย
อันตรายยังไงครับ
ruclips.net/video/Dz9zvUts23U/видео.html
ผมลองใช้ไม้ตะแบบครับ ไม่รู้ว่าจะเทียบกับพวกชิงชันได้ไหม
ช่างมาเลย์ดังระดับโลก ๆ เอาไม้มะม่วง ไม้ฉำฉา (จามจุรี) มาทำด้วยซ้ำ แถมเสียงดีอีกด้วย ถ้าไม้พยุง-ชิงชังไม่เหมาะกับการทำกีตาร์ ไม้มะม่วง-ไม้ฉำฉา (จามจุรี) ก็คงเป็นไม่ได้ได้เลย เพราะเป็นไม้เนื้ออ่อน
เรื่องเสียงกีตาร์จึงมีหลายปัจจัยมากครับ ชนิดไม้เป็นแค่ส่วนนึงเท่านั้น อยู่ที่ความรู้ความเขาใจและประสบการณ์ของช่างทำกีตาร์เป็นสำคัญ ข้อสรุปในคลิ๊ปนี้จึงไม่ถูกต้องครับ
กีตาร์ไม้มะม่วง :
ruclips.net/video/BgA50Ml5ULY/видео.html
กีตาร์ไม้ฉำฉา (ไม้จามจุรี) :
ruclips.net/video/UPis2psrd8E/видео.html
ที่สวน ปลูกทั้ง Siam rosewood(พะยูง), Brazilian rosewood, Indian rosewood่ & East indian rosewood
หวังว่าอนาคตจะได้เป็นแม่พันธุ์ครับ
อยากได้มาปลูกเหมือนกันครับ
@@off_line5878 ติดตามที่กลุ่มเฟสบุ๊ค ชมรมไม้ป่าเศรษฐกิจ ได้ครับ มีหลายคนกำลังเพาะน่าจะหลักพันเมล็ด หลังๆมาอัตรารอดเยอะขึ้นเพราะมีองค์ความรู้จากการลองผิดลองถูกมาราว4ปีแล้ว
ไม้ข้างลองดูไม้มะค่าหรือ ประดู่ดูคับผมว่าน่าจะใช้ได้
เรื่องนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่านครับ ไม้ไทยทำได้เยอะมาก แต่ถามว่าทำได้ดี หรือเหมาะจะเอามาทำมั้ย นานาจิตตังครับ
ไม้มะฮอกกานีของไทยมีมั้ยครับ
ไม้ไทยทำได้ใช่ใหมครับ
แต่ความยากคือการเก็บรักษาและต้องใช้เวลา.ฝรั่งเขาทำกีต้าร์มายาวนานเก็บไม้ไว้เป็นหลายสิบปีส่วนเราผ่าครึ่งทำเฟอร์อย่างเดียว..
ถ้าเอามาทำคอกีต้าร์ดีไหมครับ
ขอบคุณคับผมดูทุกคลิปเลยคับผม
ขอบคุณมากๆเลยครับ
ขอทราบชื่อร้านกีตาร์สั่งทำ ของคุณ Tungsai ด้วยครับ
ไม้สักละครับพี่ทำได้ไหใครับ
ไม้ชิงชันเหมาะทีจะทำซอมากกว่า
วิธีแก้ยางไม้ในเนื้อไม้มาก..ในกรณีที่ไม้เป็นแผ่นบางคือให้นำกระดาษสา..มาห่อแผ่นไม้ที่ต้องการ..ก่อนนำไปจ่ายผ่านความร้อนโดยใช้แผ่นเหล็กเป็นสื่อกลาง....(จิตนาการว่าประมาณ.(.เตารีด,กระดาษสา,แผ่นไม้,กระดาษสา,เตารีด) สมมุติว่าเตารีดคือแผ่นเหล็กที่ส่งผ่านความร้อน..) วิธีนี้จะดึงยางไม้ในเนื้อไม้ให้ออกมาติดที่กระดาษสา....โดยจะเหลือยางไม้บางส่วนติดอยู่ที่ผิวไม้..เป๋นการจัดระเบียบแรงตึงผิวของเนื้อไม้ใหม่..จะช่วยให้แผ่นไม้ไม่แตกและคงสภาพได้นาน...
กรณีที่ต้องการดัด..ให้นำแผ่นไม้ไปอบไอน้ำในห้องความดัน..จะช่วยให้ดัดไม้ได้ตามต้องการ...
ขอบคุณสำหรับข้อมูลมากครับ สอบถามนิดนึง เครื่องอบไอน้ำแรงดัน สามารถหาได้จากที่ไหนครับ
@@tungsai3483 สำหรับงานช่างที่ไม่ใช่ขนาดระดับอุตสาหกรรม..จะทำเองคับ..หลักการคือส่งผ่านไอน้ำเข้าไปในกล่องปิดที่มีพื้นที่ด้านในสำหรับบรรจุชิ้นงานที่ต้องการ..(อาจจะมีไอน้ำเล็ดออกมาจากรอยต่อของกล่องบ้างในตอนทำงาน...เพิ่อระบายแรงดันภายในกล่อง..)ส่วนรูปแบบของกล่องจะใช้ไม้อัดมาต่อส่วนขนาดจะเล็กใหญ่สั้นยาว..ขึันอยู่กับขนาดหรือจำนวนของชิ้นงานคับ..
@@tungsai3483 ruclips.net/video/HOzH6kjdoX4/видео.html
@@tungsai3483 ruclips.net/video/PYr1rK8pS30/видео.html
@@ssouwalak ขอบคุณมากครับผม
ไม้ไทยคงต้องรอให้มันแห้งมาก ๆ ค่อยมาทำถึงจะดี
มีไม้ อื่นอีกเยอะครับที่น่าสนเอาทาทำไม้หน้า
อยากไห้ลองไม่หมาพลูตั๊กแตนคัพ
อยากฟังเสียงกีต้าร์ไม้สัก ชิงชัน พยุงที่เป็นไม้ที่คนไทยทำ
เอาไปทำหย่อง หรือ เอาไปทำฟิงเกอรบอร์ดจะดีกว่า จะทนแข็งแรงดี ในความเห็นส่วนตัวนะ
ไล่ดูทุกคลิปครับ
ขอบคุณมากๆที่ติดตามนะครับ ตามดูทุกคลิปเลย ขอบคุณมากครับ
ช่วงอายุของไม้และแต่ละภูมิภาคของประเทศน่าจะมีผลด้วยหากจะเลือกไม้ไทย!
สยามโรสวู้ดคือไม้พยูงครับ
หาช่องแบบนี้มานานครับ
รบกวนขอสอบถามครับ
ถ้าช่างเอาไม้ที่อายุไม่มากทำ เสียงจะออกมาประมาณไหนครับ (ซึ่งเราก็ไม่รู้)
เดี๋ยวขอเป็นทำคลิปอธิบายนะครับ
@@tungsai3483 ขอบคุณล่วงหน้าครับ
อิงทฤษฎีฝรั่งมากเกินไป ไม้โรสวูดคือ ไม้สกุล Delbergia(พยุงทุกสายพันธ์) คุณสมบัติมันใกล้เคียงกันทุกสายพันธ์ จะแตกต่างกันก็ที่ลายไม้ และไม้พยุงหลายสายพันธ์ในไทยน่าจะดีกว่าด้วยซ้ำ
อันนี้จริงครับ ช่างมาเลย์ดังระดับโลก ๆ เอาไม้มะม่วง ไม้จามจุรี มาทำด้วยซ้ำ แถมเสียงดีอีกด้วย เรื่องเสียงกีตาร์มีหลายปัจจัยมากครับ ชนิดไม้เป็นแค่ส่วนนึงเท่านั้น
ข้อสรุปในคลิ๊ปนี้จึงไม่ถูกต้องครับ
ไม่อิงวิทยาศาสตร์ แล้วจะให้อิงไสยศาสตร์หรือไง? เม้นท์์เลอะเทอะ เขาเอาประสพการณ์ที่เขาเคยทำมาแชร์ คุณเคยทำกีต้าร์มั๊ย?
@@pcbnowchannel8966อันนี้เขาคุยเรื่อง rosewood ไปไม้มะม่วงอะไรอีก อวยกันเองเกินไป
ไม้สักทำได้ไหมครับ
ไม้สักทองสิครับ
ร้านอยู่ที่ไหนครับ
นี่เรียกว่าเจาะลึกกันเลยทีเดียว
ขอบคุณที่รับชมครับ
กว่าจะได้ดู รอโฆษณา😅😅
ผมทำอยู่ครับ ไม้พยุง
เยี่ยมเลยครับ
ruclips.net/video/VDSPPHw4Bpc/видео.html
ฝากตัวด้วยครับ
@@blacksheepguitar2046 อูย ความรู้ผมยังน้อยครับพี่
@@blacksheepguitar2046 เสียงดีเลยครับ เยี่ยมครับ
ส่วนตัวผม.ไม้แผ่นเท่ากัน.น้ำหนักต่างกัน.. วงศ์กระกูลไม้เดียวกัน.แผ่นเท่ากันทุกอย่าง.หากเราทำไม้ไทยๆห้บางกว่านิด.แล้วชั้งน้ำหนักเท่ากัน.. น่าทดลองทำไหมครับท่าน.. ฝาไว้ไห้คิด.. อุดหนุนไทย..
❤❤❤😊😊😊
ถ้ามันดี ฝรั่งมันเอาไปทำกีต้าร์แล้ว ฝรั่งวิจัย มานานแล้ว ไม้ไทยได้ระดับหนึ่ง แต่ยังไม่ดี ถ้าใครชอบของแปลกก็จัดไป แต่ฉันไม่เอา
ทำนานแล้วครับ เสิร์ชกูเกิ้ลก็เจอ
ต้นกำเนิดกีตาร์อยู่ที่ไหน เขาก็ใช้ไม้แบบนั้นทำนั่นแหละครับ แล้วก็ยึดถือกันมา จริง ๆ ทุกพื้นที่มีไม้ดีทำเครื่องดนตรีได้หมด ดูอย่างง่าย ๆ ฝรั่งพากันมาเหมาะไม้สาธรไปจนหมดภาคใต้ เพื่อไปทำกีตาร์คัสตอม ตัวนึงหลายแสนบาทครับ
@@pcbnowchannel8966 กีต้าร์ฉัน 4หมื่นของเกาหลี ไปแข่งขันชนะกี่ต้าร์มาตินราคา3แสน
@@teamextension4368 ขี้โม้
@@pcbnowchannel8966 ของจริงไม่น้ำลาย สมัยเรียนดนตรีที่ฟินแลนด์
โถ เสียงการพุดน่าจะไปเล่าเรื่องผีน่าจะรุ่งกว่านะครับ
บางคนที่ มองว่าไม้ไทยดีกว่า ส่วนตัวผมคิดว่า ไม้ที่แค่ทำได้ กับไม่ที่ทำออกมาแล้วเสียงดี มันไม่เหมือนกันครับ ไอ้ที่ว่าทำได้นั้นคือไม้อะไรก็ทำได้ ออกมาเป็นตัวได้ แต่เสียงดีหรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง ไม้นอก แม้จะสายพันธ์เดียวกัน แต่ สภาพอากาศ หนาวเย็น การเจริญเติบโต เร็วกว่า มวลเนื้อไม้อาจจะมีความโปร่งกว่า ไม้แถบเอเชียที่เป็นเขตร้อน ไม้โตช้า เนื้อจะแน่นแข็ง บางครั้ง เรื่องจริงมันก็เลี่ยงไม่ได้ครับ ไม่ได้ว่าเห่อของนอกอะไรหรอกนะครับ ถ้าไม้ไทยมันดีขนาดนั้น กีต้าร์แบรนนำของโลก คงมาเอาไปทำแล้วหละ เขาจะไปเสาะแสวงหา บราซิลเลี่ยนโรสวูดให้ยากทำไม
Brazilian Rosewood อยู่เขตร้อนเหมือนบ้านเราครับ ตระกูลเดียวกันกับ ชิงชัน พยูง บ้านเราครับ Martin ก็เคยใช้ Cambodian Rosewood ทำกีตาร์ในรุ่นพิเศษครับ ซึ่งก็ไม้แถบเพื่อนบ้านเรานี่เอง
แม้แต่ Indian Rosewood ก็จากอินเดียไม้เขตร้อนครับ
ทําได้ ไปดูคนไทยชื่ออะไรจําไม่ได้ ตัวเป็นล้านยังมีคนสั่ง
ทำได้แต่เสียงไม่เพราะ
อ๋อไม้หรอกครับ หลังและข้าางน่ะเขาเอาไว้สะท้อนเสียงครับ ตัวสร้างเสียงคือไม้หน้ากับแขนงเสียง ในแง่ของผมไม้ไทยน่าจะเหมาะกว่า แต่ปัญหาน่าจะมาจาการหายาก เพราะไทยไม่ได้มีการใชทรัพยากรไม้ ซึ่งต่างจากอินเดีย แต่ในปัจจุบัน เราก็มี มะค่า หรืออื่นไม่ทุเลา แล้วก็ปรับโครงสร้างเช่น เพิ่แขนงข้างกันแยก การดัดข้างด้วยไอน้ำ การปรับความหนาบาง ด้วยเครื่งขัดทรงกระบอกน่ะครับ
ได้ดูคลิปจบใช่ไหมครับ
เขารุ้ครับ ระดับนี้รู้เยอะกว่าคุณอีก ดูคลิปให้จบก๊อนนน
ด้วยความเคารพในฐานะคนนอกวงการทำกีต้า
ผมนั่งฟังคุณอธิบายเลยเกิดคำถามในใจ
ผมไม่ได้มากวนนะครับแค่สงสัยและอยากรู้
ตามประสาคนที่ไม่มีความรู้ด้านนี้
1 คำว่า " ไม่เหมาะสม และ ไม่ควรทำ "
ตามทฤษฎีที่คุณกล่าวมาทั้งหมด ที่สุดแล้ว
คุณกำลังบอกว่า ยังไงๆไม้ไทยก็ทำไม่ได้ใช่มั้ยครับ
2 เคยมีช่างทำกีต้าร์ในประเทศไทยคนอื่น
นอกจากคุณอีกมั้ยครับ. ที่ลองใช้ไม้ไทย
ไม่ว่าจะไม้อะไรทำกีต้าบ้างมั้ยครับ
2.1ผลออกมาเป็นไปตามอย่างที่คุณบอก
คือช่างทุกคนทำไม่ได้ รึป่าวครับ
3 คุณเคยได้ทดลองทำกับไม้ทุกชนิดในประเทศไทยรึยังครับ
ถึงสรุปความเห็นว่าไม้ไทยไม่ควรทำ
ขอบคุณสำหรับคำถามครับ เป็นคนถามที่ดี ผมขอตอบแบบนี้ครับ
1.คลิปนี้อธิบายถึง พยุงและชิงขันครับ ในแง่ของผม ผมมองว่ามันไม่เหมาะสมและไม่ควรทำ สำหรับการทำงานแบบ serious case ครับ มีปัจจัยหลายอย่างตามในคลิปครับ
2.มีช่างมากมายที่ทำด้วยไม้ไทย พยุง ชิงชัน และอีกหลายๆชนิดมากครับ
2.1 ทุกคนล้วนทำได้ ออกมาเป็นตัวกีตาร์ครับ
3. ผมไม่เคยทำไม้อื่นครับ คำพูดอาจจะพูดคลุมเคลือ แต่ตั้งแต่ต้นคลิปผมได้เกริ่นแล้วว่าวันนี้จะเป็นการคุยเฉพาะชิงชันและพยุง
ตอบมากขึ้นเพื่อความกระจ่างนะครับและภาพรวม ในแง่ของผมคนเดียวนะครับ ไม้ไทยหลายชนิดทำกีตาร์ได้ แต่ทำได้ดีหรือเปล่าอาจจะต้องลอง ซึ่งส่วนตัวผมไม่ลอง เพราะการทำตลาดกีตาร์ที่ผมต้องการ เป็นในแง่ที่ต้องการให้ไปไกลระดับโลก (ในตอนที่ยังทำอยู่)
ดังนั้นผมจะวิเคราะห์ตลาดว่าไม้าชนิดไหนเป็นที่นิยม นั่นหมายความว่าผู้เล่นจะมีความคุ้นหู คุ้นเสียง ซึ่งเขาจะมี ref.ว่าไม้ชนิดนี้ให้เสียงยังไงอยู่แล้ว การที่หยิบไม้ทางเลือกไปทำตลาด ในวันที่ยังไม่มีใครรู้จักตัวช่าง หรือยังไม่เกิดความแพร่หลายของไม้ชนิดนั้น การทำตลาดเป็นเรื่องยาก และงานตัวนั้นจะถูกตีเป็นงานที่เสียเวลา ซึ่งการทำกีตาร์แต่ละตัวใช้เวลาเยอะมาก การหยิบไม้ที่ขายได้เฉพาะในไทยไปทำ นั่นเท่ากับการเพิ่มเวลาที่จะออกไปสู่ตลาดโลก ในแง่ด้านฝีมือ ต่อให้เราเก่งแค่ไหน แต่เสียงไม่คุ้นหูคนกลุ่มใหญ่จะไม่สนใจครับ
อย่างต่อมาไม้ไทยไม่ได้มีอุตสาหกรรมการทำไม้ซึ่งเอื้อต่อการต่อยอดเป็นโรงงานทำกีตาร์ในปริมาณเยอะๆได้
่แต่ถ้าวันหนึ่งมีแบรนด์ใหญ่ๆ นำไม้ไทยไปทำเป็นรุ่นstandard และเป็นที่แพร่หลาย นั่นอาจจะทำให้ไม้ไทยต่อยอดได้
การทำงานแบบซีเรียส ผมเสียเวลา developไม่ได้ครับ เพราะรายได้หลักมาจากกีตาร์เพียงหนึ่งตัวที่ใช้เวลานานครับ
อย่างสุดท้ายลืมไปเลยครับ ไม้ไทยแพงนะครับ
1 ขอบคุณสำหรับคำตอบครับ
2 จริงๆจากการที่ดูคริบของคุณหลายๆคริบ
ผมเข้าใจฟิวลิ่งในการทำงานของคุณอยู่ว่าเป็นแบบไหน
3 ในฐานะคนไทยด้วยกัน..ผมขอให้ผลงานของคุณประสบ
ความสำเร็จตามที่คุณหวังไว้...ผมเชื่อว่าคุณทำได้
เพราะผมชื่อว่าคนไทยถ้าตั้งใจทำอะไรทำได้ทุกอย่าง
แม้จะโดนต่างชาติดูถูกปรามาสว่าทำไม่ได้...แต่มีหลายๆ
เหตุการที่ความสามารถคนไทยตอกหน้าต่างชาติเหล่านั้น
จนหน้าหงาย......ว่าพวกเขาคิดผิด
อันนี้ความคิดส่วนตัวผมนะ.....ผมคิดว่า
มีแค่2สิ่งที่จะทำให้คนไทยไม่ประสบความสำเร็จ
คือ 1 ดูถูกตัวเอง
2 ไม่ลงมือทำ
ซึ่งหากไปดูคนไทยที่ประสบความสำเร็จบนเวทีโลก
พวกเขาจะไม่มีสองสิ่งนี้
ขอบคุณสำหรับการแลกเปลี่ยนความคิด
ถือว่าเป็น ปุจฉา และ วิสัชนา เรื่องกีต้าที่ดี
ขอบคุณครับ
@@ภูดิศบัวพาสกุล ขอบคุณสำหรับคอมเม้นคุณภาพนี้นะครับ
แต่เรื่องที่เป็นไปไม่ได้ คือผลงานของผมประสบความสำเร็จครับ ผมหยุดแล้ว และคลิปทั้งหมดคือการส่งต่อความรู้ครับ
มีช่างคนนึงยุ่ทางอุดร. ใช้ไม้ ประดู่ ชิงชัน พยุง ยมหอม ยางพารา มะม่วง ครับเสียงOK ระดับนึงสตารท7000-15000บาท ตอนนี้รอสั่งอุปกรณ์เพิ่ม
ช่างมาเลย์ดังระดับโลก ๆ เอาไม้มะม่วง ไม้ฉำฉา (จามจุรี) มาทำด้วยซ้ำ แถมเสียงดีอีกด้วย ถ้าไม้พยุง-ชิงชังไม่เหมาะกับการทำกีตาร์ ไม้มะม่วง-ไม้ฉำฉา (จามจุรี) ก็คงเป็นไม่ได้ได้เลย เพราะเป็นไม้เนื้ออ่อน
เรื่องเสียงกีตาร์จึงมีหลายปัจจัยมากครับ ชนิดไม้เป็นแค่ส่วนนึงเท่านั้น อยู่ที่ความรู้ความเขาใจและประสบการณ์ของช่างทำกีตาร์เป็นสำคัญ ข้อสรุปในคลิ๊ปนี้จึงไม่ถูกต้องครับ
กีตาร์ไม้มะม่วง :
ruclips.net/video/BgA50Ml5ULY/видео.html
กีตาร์ไม้ฉำฉา (ไม้จามจุรี) :
ruclips.net/video/UPis2psrd8E/видео.html
หมดแล้วหรือ ไม้เนื้ออ่นบ้านเรามีแค่นี้ มาทางใต้ดิ จะเอาไม้อะไรละ555ต่างประเทศไม้มีไม่กี่ชนิดยังหาทำได้ บ้านเรามีเป็นพันชนิด ไม่มีปัญญา นี้แหละหนา ชีวิตไทยเศร้าจัง
อยู่ที่ว่าเรามีอุตสาหกรรมไม้เพื่อเอื้อต่อการนำมาผลิตกีตาร์หรือเปล่าครับ ถ้ามีเราก็ทำได้ แต่ถ้าทำเล่นเอง หรือขายปริมาณไม่เยอะ ไม่ต้องการคุณภาพหรือความSTABLEของไม้ ตัดไม้มาปล่อยให้แห้ง ก็สามารถเอามาทำได้หลายชนิดครับ
ถ้าแบบบ้านๆ ไม้อะไรทำตัวกีตาร์มันก็ทำได้หมดแหล่ะ แต่เรื่องเสียงที่มันสะท้อนขับออกมานี่แหละคือปัญหา เขาทดสอบแล้วว่า ไม้ชนิดไหนที่ให้เนื้อเสียงที่ดี ในเวปเขาก็บอกแล้วว่าไม้ที่ถูกทดสอบ ถึงความหนัก ความแห้ง ความแข็ง ความงอ อะไรต่างๆ มีค่าเท่าไหร่ มีทฤษฏีรองรับไว้หมดแล้ว พี่เขาก็อธิบายไว้ชัดเจนแล้ว พร้อมภาพและรายละเอียดการทดสอบของไม้ชนิดต่างๆ ทำให้คนที่ไม่รู้ ได้รู้ว่า การทำกีตาร์ มันไม่ได้ทำง่ายๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าเอาไม้อะไรก็ได้มาเหลาๆ แล้วทำเลย มันต้องมีทฤษฏีรองรับ
ไม้ของไทยก็ทำได้ดูคนอีสานเขายังเอาทำพิณเลยเสียงดีด้วยไทยเราคนทำกีต้าร์มีน้อยมากคับ
แน่สุดคือเครื่องดนตรีไทยครับไม้ไทยๆ
ชิงชันเป็นคนละอย่างกับไม้พยุงความแข็งไม้ชิงชันแข็งชนิดทำแซง10ล้อในอดีตไม่เหมาะที่จะทำกีต้าร์เพราะค่าการสั่นสะเทือนน้อยไป
ได้ทำหรือยังครับ