ซอล่องน่าน เรื่อง พญาก๋าเผือก คำผาย เมืองน่าน

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 9 ноя 2024

Комментарии • 12

  • @banjongpanyaphoo1536
    @banjongpanyaphoo1536 4 года назад

    เดินเรื่องวนไปวนมาน่าเบื่อแต้ๆ

  • @นําพลฉิมพลี
    @นําพลฉิมพลี 5 лет назад +2

    อยากได้บทซอด้วยครับผม

  • @jitthipatphankaeo6700
    @jitthipatphankaeo6700 7 лет назад +1

    ใข่ฟองที่5ตำนานเปิ้นว่าเป็นเเม่สิงเก็บได้ บ่าใจ่คนซักผ้า บางคนเปิ้นก่าบ่าฮู้ บ้างตี่เอาไปซอเเล้วก่าบ่าศึกษาเเต้ๆ

    • @YothinInbanleng
      @YothinInbanleng 6 лет назад +1

      ฟั่งออกตัวแฮงก่า... ชาดกเรื่องพญาก๋าเผือกมีกี่สำนวน เขียนไว้หลายที่หลายแห่ง ทั้งล้านนาและล้านช้าง แยกย่อยเป็นไทยวน ไทลื้อ แต่ละแห่งก็แตกต่างกันไป แล้วแต่เปิ้นจะยึดเอาหลักจากสำนวนไหนมาอู้ก็ว่ากันไป แต่ถ้าไปยึดติดที่สำนวนก็บ่ถูกครับ เพราะธัมม์ที่อ่านกันจะแล้วแต่คนเขียนคนคัดครับ พร่องก็แปลงก็กลายไปพร่องแต่เนื้อหาหลักก็คือ พระเจ้า 5 พระองค์ครับ
      สำหรับธัมม์ที่ค้นเจอมีในธัมม์วัดศรีบุญเรือง อ.เมือง จ.เชียงราย ใบลานหน้าที่ 7 บอกไว้ว่าไข่ใบที่ 4 ไปติดค้างที่แห่งหนึ่งและมี แม่ชางซัก (แม่ช่างซัก) ผู้ 1 ลงไปในแม่น้ำเพื่อจักซักฅัวแห่งมัน... และไข่ใบที่ห้ามี แม่งูหลวงเก็บไป...
      ลองดูด้านธัมม์ในเชียงตุงก็ระบุว่า แม่ช่างซัก ซึ่งก็คัดลอกไปจากล้านนา ก็ไม่แตกต่างกัน
      ส่วนสำนวนที่บอกว่าสิงห์เก็บได้เป็นสำนวนไทยกลางครับ
      สำหรับคำผายเปิ้นเป็นช่างซอเมืองน่าน ซึ่งก็ผสมผสานระหว่างล้านนา ล้านช้าง มีทั้งไท ลื้อ ลาว สูนกันอยู่หั้นล่ะครับ ต้องไปดูก่อนว่าเปิ้นเอาสำนวนไหนมาซอครับ

    • @YothinInbanleng
      @YothinInbanleng 6 лет назад

      คัดลอกข้อความนี้มาให้อ่านประกอบด้วยครับว่า คนซักผ้า ก็มีนะครับไม่ใช่ไม่มี (คัดลอกมาจาก MGR Online)
      ในเรื่องของการทำตุงเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปถึงแม่ผู้ให้กำเนิด รองศาสตราจารย์ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เขียนไว้ในหนังสือ รำลึกพระคุณ ในหัวข้อประเพณีทานตุงในล้านนา ถึงตำนานของแม่กาเผือกว่า
      “กาลครั้งหนึ่งมีแม่กาเผือกออกไข่มา 5 ฟอง วันหนึ่งเกิดพายุขึ้น ไข่ที่อยู่บนรังของแม่กาจึงตกลงมาข้างล่าง และมีผู้นำไปเลี้ยง ส่วนแม่กาเผือกกลับมาไม่เห็นไข่ก็สิ้นใจ ต่อมาไข่ทั้ง 5 เกิดเป็นชายหนุ่มได้ออกบวชสำเร็จเป็นโพธิญาณ ทั้งหมดได้มาพบกันและต่างก็คิดว่าจะทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับแม่ผู้ให้กำเนิด จึงทำตุงขึ้นตามรูปลักษณ์ของผู้ที่เลี้ยงตนมา คือ พระกกุสันธะทำเป็นรูปไก่ พระโกนาคมทำเป็นรูปนาค พระกัสสปะทำเป็นรูปเต่า พระโคตมะทำเป็นรูปตาวัว ส่วนพระอาริยเมตตรัยทำเป็นรูปค้อนสำหรับทุบผ้าซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคนซักผ้าหรือแม่ซักไหม เสร็จแล้วจึงได้นำไปถวายเป็นพุทธบูชา แต่ก็ไม่ถึงพ่อแม่ที่แท้จริงจนแม่กาเผือกได้บินมาบอกให้จุดประทีปที่ทำไส้เป็นรูปตีนกา จึงสามารถอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปถึงได้”
      สำหรับส่วนประกอบของตุงตั้งแต่ยอดจนถึงปลาย ได้สื่อถึงตัวแทนของพระพุทธเจ้าทั้ง 5 องค์ ดังนี้ หัวตุงคือไม้ซักผ้าแทนความหมายถึงคนซักผ้าหรือพระอาริยเมมตรัย รูปไก่และส่วนบนของตุงแทนไก่หรือกกุสันธะ ส่วนลำตัวที่ทอดยาวของตุงแทนนาคหรือโกนาคมนะและลวดลายตารางเกล็ดเต่าหรือลวดลายสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดแทนเต่าหรือพระกัสสปะ หมากตาวัวหรือลูกกลมประดับตุงแทนวัวหรือโคตมะ
      อาจกล่าวได้ว่า นอกจากตำนานเรื่องแม่กาเผือกจะเป็นจุดเริ่มต้นของการทำตุงแล้ว ยังสามารถอธิบายที่มาของการจุดผางประทีปในล้านนาได้อีกด้วย

    • @jitthipatphankaeo6700
      @jitthipatphankaeo6700 6 лет назад

      Yothin Inbanleng เเล้วในเมื่อคนซักผ้าเป็นคนเก็บได้หยะหยังถึงบ่ามีจื่อจดอยู่ในใบลาน เเล้วพระเจ้าตึง๔องค์มีจื่อเเม่เลี้ยงอยู่ตวย กาว่าคนชักผ้าจื่อศรีกา?????

  • @magotoinpata4320
    @magotoinpata4320 10 лет назад +3

    สรุปมันเป็นไข่ นกก็ว่าไขก๋า นิ

    • @ปวดหัวกะชีวิต
      @ปวดหัวกะชีวิต 10 лет назад +2

      ต้นกำเนิด พระเจ้าห้าพระองค์

    • @magotoinpata4320
      @magotoinpata4320 10 лет назад

      ปวดหัว กะชีวิต พระเจ้าห้าองค์ มีอะหยางพร่องครับ

    • @boonlersuwan4819
      @boonlersuwan4819 7 лет назад

      Magoto Inpata x

    • @jitthipatphankaeo6700
      @jitthipatphankaeo6700 6 лет назад

      Magoto Inpata กะกุสันโธ โกนาคมะโน กัสโป โคตโม ศรีอริยะเมตตรัยโย

    • @mikyand9996
      @mikyand9996 5 лет назад

      เป๋นไข่ก๋า