Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
ผมชอบมากครับสอนละเอียดทุกขั้นตอน ฟังแล้วเข้าใจง่ายและผมนำไปปฏิบัติตามที่แนะนำแนวเชื่อมขึ้นออกมาดี ผมจะนำข้อมูลที่ได้แนะนำมาไปฝึกปฎิบัติให้เกิดความชำนาญและคล่องแคล่ว เพื่อจะได้มีประสบการณ์ตามความสามารถต่อไปครับ เนื่องจากผมช่างฝึกหัด ขอบคุณมากครับสำหรับหลักการเชื่อมที่แนะนำ ผมขอเคารพในการสอนครับอาจารย์ เข้าใจง่าย ละเอียด เนื้องานแนวเชื่อม คมชัด สุดยอดครับ
ขอบคุณครับ
สุดยอดครับเพิ่งเจอคลิปดีๆ
ขอบคุณครับ ผมดูแล้วได้ประโยชน์ พวกเก่งมากแต่ถ่ายทอดไม่เป็นก็เท่านั้นครับ
ชอบเทคนิคการสตาร์ทลวดครับ👍👍
ผมดูทุกคลิปครับกำลังหัดเชื่อมคับ
สุดจริงคนนี้
สวัสดีปีใหม่ครับ อ.จารย์
สวัสดีปีใหม่ครับ
ฝีมือสุดๆเท่าที่ดูมา
มือช่างนิ่งมากครับ
ฝีมือจริง
ลวดLมันแข็งงผมว่ามันคุมง่ายกว่าลวดธรรมดา นี้าเหล็กมันไม่ย้อยส่วนตัวผมชอบมากลวดL
ใช่คร้บ แต่ก็มีบางคนที่เขาถนัดลวดอ่อน เพราะใช้งานบ่อย จนจับจุดได้โดยส่วนตัวผมก็ไม่ค่อยได้ใช้ลวดอ่อนเหมือนกัน ครับ
ครับผม
ฝึกจนตาบวม ซื้อตู้เชื่อมมาจากลาซาด้ายากเหมือนกันครับ อยากเชื่อมพอได้เอาไว้เชื่อมเล็กๆน้อยๆ.
ค่อยๆฝึกไปครับเดี๋ยวก็ได้เองครับ
สวัสดีปีใหม่ครับน้า
สวัสดี โชคดีปีใหม่ครับ
แนะนำปุ่มต่างๆของตู้ให้ดูหน่อยครับ อาจร์ย ว่าเรียกว่าอะไร ใช้งานลักษณะใหนครับ
ruclips.net/video/Bl72VKe7yu4/видео.html
คร่าวๆครับ
@@suwatdiy. ขอบคุณครับอาจาร์ย ผมจะนำไปปรับใช้และเป็นประโยชน์ต่อหน้างานครับ
ขณะที่ก่อนเชื่อมแล้วแตะลวดเชื่อมที่ชิ้นงานมันคืออาการลวดติดไหมครับ
เป็นการพักลวดครับ พอแตะลวดเกิดประกายอ๊าก แล้วเราจะเดินลวดเลยก็ได้แต่มันอาจไม่ตรงจุดที่เราจะเริ่มเช่น อาจห่างไป ออกซ้าย ออกขวาไปแต่ถ้าเราแตะแล้วดันลวดให้ติดชิ้นงานไฟอ๊ากก็จะดับ เป็นการพักลวดก่อนเริ่มสตารท์ เราก็จะมีเวลา เล็งหรือคำนวณได้ว่าตำแหน่งลวดอยู่ตรงไหน แนวเชื่อมจะไม่ขาดหรือเป๋ออกข้างไดข้างหนึ่ง ครับ
👍🙏
🙏🙏🙏
ผมแทงทะลุทุกเส้นทาง😁😁😁
😄😄เชื่อมบ่อยๆก็ชินครับ✌✌
สำหรับผมนะเชื่อมลง ลวดอะไรก็ แต่!! องศาต้องได้
ใช่ครับ
👍
🙏
คำเดียวสำหรับช่างเชื่อมแก้เจ็บตายังไง555
😁😁
ใสหน้ากากเชื่อมที่มีมาตรฐาน+กระจกดำกรองแสง ไม่เชื่อมโดยใส่แค่แว่นตาดำ แบบนั้นเดี๋ยวก็ได้เป็นฤาษีตาไฟ
ใช้ไฟเท่าไหร่คับ
เชื่อมขึ้น 80-90 ท่าลากลงใช้ไฟแรงกว่าเชื่อมขึ้น ใช้ไฟราวๆ 110 ครับ
เป็นการให้ข้อมูลที่แปลกๆ การเชื่อมลงไม่ใช่เพื่อหลบท่ายากของการเชื่อมขึ้น มันขึ้นอยู่กับลักษณะงานเรื่องความแข็งแรงและความหนาบางของชิ้นงาน เชื่อมลงซึมลึกน้อยเหมาะกับงานบาง งานหนาต้องเชื่อมขึ้น ไม่ใช่เชื่อมลงซ้ำหลายครั้งให้เต็มรอยเชื่อม หากเชื่อมลงซ้ำหลายครั้งงานเสร็จแต่ไม่ผ่าน X-ray เพราะรูพรุนเยอะ แล้วในการทำงานจริงเขาจะกำหนดไว้ในแบบเลยว่าจุดนี้เป็นจะเชื่อมขึ้นหรือลง งานหนาก็ล้วนแต่จะเป็นการเชื่อมขึ้น ถ้าแบบกำหนดว่าเชื่อมขึ้น แล้วเราไปเชื่อมลง ช่างเชื่อมก็โดน Reject ถ้าเป็นงานหนาในความเป็นจริงเชื่อมขึ้นง่ายและมีประสิทธิภาพที่สุดแล้วควบคุมบ่อหลอมละลายง่ายไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องฟองอากาศ เชื่อมลงมีปัญหาเรื่องฟองอากาศมาก ยิ่งรอยต่อด้วยแล้วยิ่งหนัก แล้วยิ่งถ้าเป็นงานต่อแบบตัวที เชื่อมขึ้นกับเชื่อมลงความแข็งแรงต่างกันไกลมากเลย เป็นช่างเชื่อมมืออาชีพแล้วเขากำหนดให้เชื่อมแบบนั้นก็ต้องทำให้ได้
ก่อนอื่นต้องขอบคุณมากครับ ที่เข้ามาคอมเมนต์ผมอาจสื่อสารไม่ชัดเจน ขอชี้แจงเพิ่มเติมครับ การเชื่อมมีหลากหลายระดับ งานเชื่อม x-ray งานเชื่อมใน รง.อุตสาหกรรมหนัก เชื่อมโคลงหลังคา งานเชื่อมรั้ว เชื่อมราวตากผ้าส่วนคน ก็จะมีเชื่อมเก่ง ปานกลาง และกำลังหัดเชื่อม เวลาทำคลิปส่วนมากผมก็จะใช้คำว่าแนะนำ เพราะผมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ถึงกับเก่งมาก และคนที่ดูคลิปส่วนใหญ่ที่คอมเมนต์มาก็จะเป็นช่วงเริ่มต้น คนที่เก่งแล้วเขาก็คงไม่ค่อยดู ดังนั้น นี่จึงเป็นการแนะนำให้มือใหม่หัดเชื่อมในท่าลากลง "สำหรับมือใหม่ที่ไม่เคยเชื่อมท่านี้ ลองไปฝึกดูนะครับ"ในคลิปผมจะพูดคำนี้ครับ ซึ่งคนที่ยังไม่เคยเชื่อมลากลงก็แสดงว่า กำลังเริ่มต้น เชื่อมงานที่ไม่มีสเปคมาก ส่วนมืออาชีพ ไปสมัครงานที่ไหน เขาต้องให้สอบ x-ray ผ่านเขาถึงจะรับเข้าทำงาน ถ้าระดับนั้นแล้วเขาย่อมรู้ว่าต้องเชื่อมอะไร ยังไง ต้องผ่านQc / inspector ถ้าเอาหลักวิชาการมาพูดแบบละเอียด คลิปจะยาวมากครับและจะไม่มีใครดู สรุปก็คือคลิปนี้สำหรับมือใหม่หัดเชื่อมท่าลากลงครับ เชื่อมงานเล็กๆน้อยๆตามบ้าน ขอบคุณที่รับชมครับ
เสยทีคนที่ดูไม่ได้สวมหน้ากาก
ครับ คราวหน้าจะถ่ายผ่านหน้ากระจกดำ ให้คนดูเห็นด้วย ขอบคุณที่แนะนำ ครับ
ตู้เชื่อมจีนราคาถูกๆมีผลต่องานเชื่อมมากครับ กระแสไฟมันไม่นิ่ง+แอมป์หลอก ปกติเชื่อมไฟ 80-90 ตู้ดีๆ เจอตู้จีนเชื่อมไม่ได้เลยครับ ปรับไฟไป 160 โน่น ถึงเชื่อมได้
ใช่ครับ ของถูกความทนทานก็ต่างกัน
อย่าไปสนใจคนที่เก่งแต่ว่าคนอื่นเลยครับทำคลิปต่อไปนะครับมีคนต้องการดูอีกเยอะผมคนหนึ่งที่ดูตลอด
ขอบคุณครับ🙏🙏
ตู้แบบนี้เชื่อมนิ่มกว่าไฟฟ้าไหมครับ
เหมือนกันครับ
ขออนุญาตสอบถามครับใช่กระจกดำเบอร์อะไรครับในการถ่ายวีดีโอชัดมาก
เบอร์ 10 ครับ
ขอบคุณสำหรับความรู้และเทคนิคการสังเกตุการเร่งหรือลดไฟมือใหม่หัดเชื่อมครับ😊
ครับผม ยินดีครับ
ขอสอบหน่อยคับเชื่อมขึ้นกับเชื่อมลงแบบไหนแข็งแรงกว่าคับ
การเชื่อมขึ้น จะแข็งแรงกว่าครับ การเชื่อมลง จะเลือกใช้เป็นงานเฉพาะ เช่น งานที่ไม่ต้องการแนวเชื่อมนูน หรือใหญ่เกินไป การเชื่อมลงแนวเชื่อมจะแบนเรียบ แรงดึงน้อยกว่าทำให้การบิดตัวของชิ้นงานหลังแนวเชื่อมเย็นตัวลง จะน้อยกว่าการเชื่อมในท่าขึ้น ครับ
ผมชอบมากครับสอนละเอียดทุกขั้นตอน ฟังแล้วเข้าใจง่ายและผมนำไปปฏิบัติตามที่แนะนำแนวเชื่อมขึ้นออกมาดี ผมจะนำข้อมูลที่ได้แนะนำมาไปฝึกปฎิบัติให้เกิดความชำนาญและคล่องแคล่ว เพื่อจะได้มีประสบการณ์ตามความสามารถต่อไปครับ เนื่องจากผมช่างฝึกหัด ขอบคุณมากครับสำหรับหลักการเชื่อมที่แนะนำ ผมขอเคารพในการสอนครับอาจารย์ เข้าใจง่าย ละเอียด เนื้องานแนวเชื่อม คมชัด สุดยอดครับ
ขอบคุณครับ
สุดยอดครับเพิ่งเจอคลิปดีๆ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ ผมดูแล้วได้ประโยชน์ พวกเก่งมากแต่ถ่ายทอดไม่เป็นก็เท่านั้นครับ
ขอบคุณครับ
ชอบเทคนิคการสตาร์ทลวดครับ👍👍
ขอบคุณครับ
ผมดูทุกคลิปครับกำลังหัดเชื่อมคับ
ขอบคุณครับ
สุดจริงคนนี้
ขอบคุณครับ
สวัสดีปีใหม่ครับ อ.จารย์
สวัสดีปีใหม่ครับ
ฝีมือสุดๆเท่าที่ดูมา
ขอบคุณครับ
มือช่างนิ่งมากครับ
ขอบคุณครับ
ฝีมือจริง
ขอบคุณครับ
ลวดLมันแข็งงผมว่ามันคุมง่ายกว่าลวดธรรมดา นี้าเหล็กมันไม่ย้อยส่วนตัวผมชอบมากลวดL
ใช่คร้บ แต่ก็มีบางคนที่เขาถนัดลวดอ่อน เพราะใช้งานบ่อย จนจับจุดได้โดยส่วนตัวผมก็ไม่ค่อยได้ใช้ลวดอ่อนเหมือนกัน ครับ
ขอบคุณครับ
ครับผม
ฝึกจนตาบวม ซื้อตู้เชื่อมมาจากลาซาด้ายากเหมือนกันครับ อยากเชื่อมพอได้เอาไว้เชื่อมเล็กๆน้อยๆ.
ค่อยๆฝึกไปครับเดี๋ยวก็ได้เองครับ
สวัสดีปีใหม่ครับน้า
สวัสดี โชคดีปีใหม่ครับ
แนะนำปุ่มต่างๆของตู้ให้ดูหน่อยครับ อาจร์ย ว่าเรียกว่าอะไร ใช้งานลักษณะใหนครับ
ruclips.net/video/Bl72VKe7yu4/видео.html
คร่าวๆครับ
@@suwatdiy. ขอบคุณครับอาจาร์ย ผมจะนำไปปรับใช้และเป็นประโยชน์ต่อหน้างานครับ
ครับผม
ขณะที่ก่อนเชื่อมแล้วแตะลวดเชื่อมที่ชิ้นงานมันคืออาการลวดติดไหมครับ
เป็นการพักลวดครับ พอแตะลวดเกิดประกายอ๊าก แล้วเราจะเดินลวดเลยก็ได้แต่มันอาจไม่ตรงจุดที่เราจะเริ่ม
เช่น อาจห่างไป ออกซ้าย ออกขวาไป
แต่ถ้าเราแตะแล้วดันลวดให้ติดชิ้นงาน
ไฟอ๊ากก็จะดับ เป็นการพักลวดก่อนเริ่มสตารท์ เราก็จะมีเวลา เล็ง
หรือคำนวณได้ว่าตำแหน่งลวดอยู่ตรงไหน แนวเชื่อมจะไม่ขาดหรือเป๋ออกข้างไดข้างหนึ่ง ครับ
👍🙏
🙏🙏🙏
ผมแทงทะลุทุกเส้นทาง😁😁😁
😄😄เชื่อมบ่อยๆก็ชินครับ✌✌
สำหรับผมนะเชื่อมลง ลวดอะไรก็ แต่!! องศาต้องได้
ใช่ครับ
👍
🙏
คำเดียวสำหรับช่างเชื่อม
แก้เจ็บตายังไง555
😁😁
ใสหน้ากากเชื่อมที่มีมาตรฐาน+กระจกดำกรองแสง ไม่เชื่อมโดยใส่แค่แว่นตาดำ แบบนั้นเดี๋ยวก็ได้เป็นฤาษีตาไฟ
ใช่ครับ
ใช้ไฟเท่าไหร่คับ
เชื่อมขึ้น 80-90 ท่าลากลงใช้ไฟแรงกว่าเชื่อมขึ้น ใช้ไฟราวๆ 110 ครับ
เป็นการให้ข้อมูลที่แปลกๆ การเชื่อมลงไม่ใช่เพื่อหลบท่ายากของการเชื่อมขึ้น มันขึ้นอยู่กับลักษณะงานเรื่องความแข็งแรงและความหนาบางของชิ้นงาน เชื่อมลงซึมลึกน้อยเหมาะกับงานบาง งานหนาต้องเชื่อมขึ้น ไม่ใช่เชื่อมลงซ้ำหลายครั้งให้เต็มรอยเชื่อม หากเชื่อมลงซ้ำหลายครั้งงานเสร็จแต่ไม่ผ่าน X-ray เพราะรูพรุนเยอะ แล้วในการทำงานจริงเขาจะกำหนดไว้ในแบบเลยว่าจุดนี้เป็นจะเชื่อมขึ้นหรือลง งานหนาก็ล้วนแต่จะเป็นการเชื่อมขึ้น ถ้าแบบกำหนดว่าเชื่อมขึ้น แล้วเราไปเชื่อมลง ช่างเชื่อมก็โดน Reject ถ้าเป็นงานหนาในความเป็นจริงเชื่อมขึ้นง่ายและมีประสิทธิภาพที่สุดแล้วควบคุมบ่อหลอมละลายง่ายไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องฟองอากาศ เชื่อมลงมีปัญหาเรื่องฟองอากาศมาก ยิ่งรอยต่อด้วยแล้วยิ่งหนัก แล้วยิ่งถ้าเป็นงานต่อแบบตัวที เชื่อมขึ้นกับเชื่อมลงความแข็งแรงต่างกันไกลมากเลย เป็นช่างเชื่อมมืออาชีพแล้วเขากำหนดให้เชื่อมแบบนั้นก็ต้องทำให้ได้
ก่อนอื่นต้องขอบคุณมากครับ ที่เข้ามาคอมเมนต์ผมอาจสื่อสารไม่ชัดเจน ขอชี้แจงเพิ่มเติมครับ การเชื่อมมีหลากหลายระดับ งานเชื่อม x-ray งานเชื่อมใน รง.อุตสาหกรรมหนัก เชื่อมโคลงหลังคา งานเชื่อมรั้ว เชื่อมราวตากผ้า
ส่วนคน ก็จะมีเชื่อมเก่ง ปานกลาง และกำลังหัดเชื่อม เวลาทำคลิปส่วนมากผมก็จะใช้คำว่าแนะนำ เพราะผมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ถึงกับเก่งมาก และคนที่ดูคลิปส่วนใหญ่ที่คอมเมนต์มาก็จะเป็นช่วงเริ่มต้น คนที่เก่งแล้วเขาก็คงไม่ค่อยดู
ดังนั้น นี่จึงเป็นการแนะนำให้มือใหม่หัดเชื่อมในท่าลากลง "สำหรับมือใหม่ที่ไม่เคยเชื่อมท่านี้ ลองไปฝึกดูนะครับ"ในคลิปผมจะพูดคำนี้ครับ ซึ่งคนที่ยังไม่เคยเชื่อมลากลงก็แสดงว่า กำลังเริ่มต้น เชื่อมงานที่ไม่มีสเปคมาก ส่วนมืออาชีพ ไปสมัครงานที่ไหน เขาต้องให้สอบ x-ray ผ่านเขาถึงจะรับเข้าทำงาน ถ้าระดับนั้นแล้วเขาย่อมรู้ว่าต้องเชื่อมอะไร ยังไง ต้องผ่าน
Qc / inspector ถ้าเอาหลักวิชาการมาพูดแบบละเอียด คลิปจะยาวมากครับ
และจะไม่มีใครดู
สรุปก็คือคลิปนี้สำหรับมือใหม่หัดเชื่อมท่าลากลงครับ เชื่อมงานเล็กๆน้อยๆตามบ้าน ขอบคุณที่รับชมครับ
เสยทีคนที่ดูไม่ได้สวมหน้ากาก
ครับ คราวหน้าจะถ่ายผ่านหน้ากระจกดำ ให้คนดูเห็นด้วย ขอบคุณที่แนะนำ ครับ
ตู้เชื่อมจีนราคาถูกๆมีผลต่องานเชื่อมมากครับ กระแสไฟมันไม่นิ่ง+แอมป์หลอก ปกติเชื่อมไฟ 80-90 ตู้ดีๆ เจอตู้จีนเชื่อมไม่ได้เลยครับ ปรับไฟไป 160 โน่น ถึงเชื่อมได้
ใช่ครับ ของถูกความทนทานก็ต่างกัน
อย่าไปสนใจคนที่เก่งแต่ว่าคนอื่นเลยครับทำคลิปต่อไปนะครับมีคนต้องการดูอีกเยอะผมคนหนึ่งที่ดูตลอด
ขอบคุณครับ🙏🙏
ตู้แบบนี้เชื่อมนิ่มกว่าไฟฟ้าไหมครับ
เหมือนกันครับ
ขออนุญาตสอบถามครับใช่กระจกดำเบอร์อะไรครับในการถ่ายวีดีโอชัดมาก
เบอร์ 10 ครับ
ขอบคุณสำหรับความรู้และเทคนิคการสังเกตุการเร่งหรือลดไฟมือใหม่หัดเชื่อมครับ😊
ครับผม ยินดีครับ
ขอสอบหน่อยคับเชื่อมขึ้นกับเชื่อมลงแบบไหนแข็งแรงกว่าคับ
การเชื่อมขึ้น จะแข็งแรงกว่าครับ
การเชื่อมลง จะเลือกใช้เป็นงานเฉพาะ เช่น งานที่ไม่ต้องการแนวเชื่อมนูน หรือใหญ่เกินไป การเชื่อมลงแนวเชื่อมจะแบนเรียบ แรงดึงน้อยกว่า
ทำให้การบิดตัวของชิ้นงานหลังแนวเชื่อมเย็นตัวลง จะน้อยกว่าการเชื่อม
ในท่าขึ้น ครับ