พระประวัติ “สมเด็จครู” เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 21 окт 2024

Комментарии • 18

  • @แดนสรวงจําแนกมิตร

    ขอบคุณสําหรับข้อมูลดีๆครับ

  • @Armera06
    @Armera06 5 лет назад +1

    ชื่อเรามีที่มาจากพระองค์ท่านนี่เอง
    แม่คลอดเราที่โรงพยาบาลพระมงกุฏฯ พ่อไม่รู้จะตั้งชื่ออะไร มองออกไปนอกหน้าต่างเห็นตึกชื่อนริศรานุวัดติวงศ์ เลยบอกหมอว่าให้ชื่อนริศรา 🙏🏼

  • @สิปโป
    @สิปโป 5 лет назад

    สมเด็จครู 🙏🙏🙏

  • @abkornburee
    @abkornburee 3 года назад +1

    ท่านทรงประพันธ์เพลงเขมรไทรโยกด้วยใช่ไหมครับ และในเนื้อร้อง เหมือนกับว่าพี่ตามเสด็จแล้วมาเล่าให้น้องฟัง น้องในนั้นคือใครครับ

  • @NokEasy
    @NokEasy 5 лет назад +1

    ชอบครับทำออกมาเรื่อยๆนะครับ

  • @wasanalovely2079
    @wasanalovely2079 5 лет назад

    สวัสดีตอนค่ำคะ

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 3 года назад

    สรรพศิลปสิทธิวิทยาธร สุรจิตรกรศุภโกศล
    .
    “...เพราะเห็นว่าจะหาช่างใดในกรุงสยามที่เข้าใจความมุ่งหมายและความตั้งใจของข้าพเจ้าไม่ได้ดีเท่าเปนแน่แท้ และสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ทรงเข้าพระทัยความประสงค์ของข้าพเจ้าดีปานใด ภาพทั้งหลายในสมุดนี้ย่อมเปนพยานปรากฎอยู่เองแล้ว.”
    .
    คำนำเรื่อง “ธรรมาธรรมะสงคราม” ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงบอกเล่าถึงภาพประกอบเรื่องที่วิจิตรงดงาม ด้วยฝีพระหัตถ์ “นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ภาพวิจิตรที่ทรงวาดขึ้นประกอบเรื่องราวการต่อสู้ของธรรมะและอธรรม เป็นผลงานของพระองค์ที่คนไทยรู้จักมากที่สุดชิ้นหนึ่ง
    .
    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๐๖ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย ทรงสนพระทัยและมีความเชี่ยวชาญในด้านงานศิลปะเป็นอย่างยิ่ง สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงสนพระทัยในเรื่องศิลปวัฒนธรรมเหมือนกัน จึงต้องพระอัธยาศัยและทรงแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในงานศิลปะอยู่เสมอมาตั้งแต่ก่อนเสวยราชสมบัติ
    .
    ส่วนในรัชสมัยนั้น นอกจากงานภาพเขียนฝีพระหัตถ์แล้ว งานออกแบบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในรัชกาลนั้น ก็เป็นผลงานของสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์นี้ ผู้ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยในงานศิลปะต่าง ๆ จนตลอดรัชกาล หลายชิ้นยังคงปรากฏอยู่จนถึงปัจจุบัน อันได้แก่ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ เครื่องราชอิสริยาภรณ์รามาธิบดีทุกชั้นตรา หรือที่พ้นสมัยพระราชทานไปแล้ว เช่น รัตนวราภรณ์ วัลภาภรณ์ และวชิรมาลา ออกแบบธงลูกเสือประจำมณฑล รวมถึงงานส่วนพระองค์ และงานราชการแผ่นดินอีกหลายชิ้น ไปจนถึงทรงพระนิพนธ์คำร้องเพลงสรรเสริญเสือป่า และถวายคำปรึกษาในด้านดนตรี ละครและนาฎศิลป์ จนในที่สุดได้ทรงออกแบบพระเมรุมาศ รวมถึงสิ่งประกอบงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นว่า พระบรมโกศพระบรมอัฐิ พัดรองที่ระลึก และทรงกำกับการปั้นหล่อพระบรมรูปรัชกาลที่ ๖ สำหรับประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดรอีกด้วย
    .
    ด้วยพระปรีชาสามารถเป็นที่ประจักษ์ จึงทรงสมด้วยพระเกียรติยศที่สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสถาปนาเป็นกรมพระ และพระราชทานพระนามในพระสุพรรณบัฏ ความตอนหนึ่งว่า
    .
    ปรเมนทรราชปิตุลา
    (ทรงเป็นพระราชปิตุลาในรัชกาลที่ ๖)
    สวามิภักดิสยามวิชิต
    (ทรงมีความจงรักภักดีต่อสยามประเทศ)
    สรรพศิลปสิทธิวิทยาธร
    (ทรงดำรงไว้ซึ่งความสำเร็จและความรอบรู้ในสรรพศิลปะ)
    สุรจิตรกรศุภโกศล
    (ทรงเป็นจิตรกรผู้เก่งกล้าสามารถเจนจัดเป็นเลิศ)

  • @younie8195
    @younie8195 3 года назад

    ขออนุญาตถามนะคะท่านได้ทรงเกี่ยวข้องกับวงปี่พาทย์ชนิดใดหรอคะ อันนี้พยายามหาแล้วค่ะหนูจะเอาไปสอนการบ้านน้องน่ะค่ะ😅

    • @KANALAB
      @KANALAB  3 года назад

      ขออนุญาตตอบครับ
      ทรงสนพระทัยดนตรีตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์
      ทรงเริ่มเรียนดนตรีจากครูถึก ดุริยางกูร
      แล้วทรงเรียนกับท่านขุนเณร
      เจ้ากรมพิณพาทย์หลวงสมัยต้น รัชกาลที่5
      ได้ทรงเรียนเพลงหน้าพาทย์
      และเพลงเรื่องต่าง ๆ จากพระประดิษฐ์ไพเราะ
      ทรงหัดเป่าฟลุ้ทกับครูฝรั่ง เรียนโน้ตสากล
      ทรงอ่านและเขียนโน้ตสากลได้ตั้งแต่พระชันษา 22ปี
      เพลงไทยเพลงแรกที่ทรงพระนิพนธ์
      เป็นเพลงเขมรไทยโยค ในปี พ.ศ.2431
      นับตั้งแต่ พ.ศ.2441
      พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
      ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดคอนเสิร์ทแสดงในพระที่นั่ง
      จึงทรงปรับปรุงวงดนตรีไทยให้เหมาะสม
      กับการขับร้องบรรเลงในอาคาร
      *** จึงเกิดเป็นวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ขึ้นในยุคนี้
      ยังทรงคิดเครื่องเป่าประกอบเป็นเสียงต่างๆ
      สอดแทรกเข้าในบทเพลง
      ที่ตอนนี้เรียกว่า Sound Effect
      ลงในบทเพลงไทยเป็นครั้งแรก
      และทรงส่งเสริมให้คนไทยรู้จัก
      ร้องเพลงประสานเสียงแบบฝรั่งเป็นคนแรก
      โดยร้องเพลงหมู่ชายหญิงเพลงเขมรไทรโยค
      และสุดท้ายทรงส่งเสริมให้มีการบันทึก
      เสียงเพลงไทยเป็นโน้ตสากลอีกด้วย
      ขอบคุณครับ
      ทีมงาน Kana Laboratory

    • @younie8195
      @younie8195 3 года назад

      @@KANALAB ขอบคุณมากๆนะค้าาา🙏🙏🙏🙏🙏🙏

  • @sophonbuapheng8864
    @sophonbuapheng8864 5 лет назад

    👍👍👍

  • @moodevil7
    @moodevil7 4 года назад

    มาดูเนื่องในวันนริศ 28 เม.ย.2563 วันนี้ยังอยุ่ในช่วงcovid มีพิธีบวงสรวงที่กรมโยธา พระราม6, ไม่มีการเปิดวังปลายเนินให้ชมเหมือนปีก่อนๆ ทรงพระเจริญ

  • @bunyute
    @bunyute 5 лет назад

    ☺️🌹

  • @ampol0666
    @ampol0666 5 лет назад

    1😊