1. หนังสือที่เป็นต้นเรื่องของอีพีนี้ และชวนให้ผมกลับมาคิดว่าทำไมความเป็นเจ้าของจึงเป็นปัญหาในชีวิตประจำวันของมนุษย์มีสองเล่ม คือ “Out of the Wreckage: A New Politics for an Age of Crisis” โดย จอร์จ มอนบิโอต์ (George Monbiot) ฉบับแปลไทยชื่อ “พังทลายแต่ไม่พ่ายแพ้: เรื่องเล่าเพื่อการเมืองที่เป็นของเราทุกคน” สำนักพิมพ์นิสิตสามย่าน “Possessed: Why We Want More Than We Need” โดย บรูซ ฮูด (Bruce Hood) หนังสือเล่มนี้ยังไม่มีแปลไทย แต่สามารถฟังที่ฮูดพูดสรุปประเด็นหลักๆ ไว้ได้ที่ Mine! The Power of Ownership | Bruce Hood | TEDxSouthampton (ruclips.net/video/i0SNvg7X0Es/видео.html) 2. แนวคิดเรื่องสิทธิ์ความเป็นเจ้าของของจอห์น ล็อก อยู่ในหนังสือ “ความเรียงที่สองว่าด้วยการปกครอง” (The Second Treatise of Government) โดยเฉพาะในบทที่ 5 หนังสือเล่มนี้มีฉบับแปลไทย โดยอาจารย์สมบัติ จันทรวงศ์ สำนักพิมพ์คบไฟ ฉบับภาษาอังกฤษอ่านออนไลน์ได้ที่ www.gutenberg.org/files/7370/7370-h/7370-h.htm#CHAPTER_V 3. อ่านกฎหมายฮัมมูราบี โดยเฉพาะตอนต้นๆ ที่อธิบายหน้าที่และสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนและอาณาจักรของกษัตริย์ได้จาก The Code of Hammurabi Translated by L. W. King (avalon.law.yale.edu/ancient/hamframe.asp) 4. ใครเป็นเจ้าของดวงจันทร์ได้บ้าง ลองฟังและอ่านเพิ่มเติมได้จาก Who owns the Moon? (ruclips.net/video/pXh7vLTLTEc/видео.html) Who owns the moon? (www.dw.com/en/who-owns-the-moon/a-63761917) 5. ตัวอย่างของชนเผ่าเมารี กับการทำให้แม่น้ำกลายเป็นนิติบุคคล อ่านเพิ่มเติมได้จาก "‘นิติบุคคลแม่น้ำ’ แนวทางอนุรักษ์แม่น้ำวังกานุยในนิวซีแลนด์ กับการปรับใช้ในบริบทประเทศไทย" plus.thairath.co.th/topic/naturematter/103408 New Zealand’s Maori Won Personhood for This River (ruclips.net/video/YQZxRSzxhLI/видео.html) 6. ข้อถกเถียงสิทธิ์ในป่าชุมชนและสิทธิ์ในแม่น้ำที่ต่อยอดมาถึงประเทศไทย ดูได้จาก จับใจคุย “สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง” (thecitizen.plus/node/58432) ป่าสงวนไทย (สงวนไว้ให้ใคร?) | พูดมาก Podcast EP.51 (ruclips.net/video/XsvFHwIrRzQ/видео.html) 7. ประเด็นเรื่องความเป็นเจ้าของข้อมูลในโลกอินเตอร์เน็ต ดูสรุปย่อๆ และเอกสารอ่านเพิ่มเติมได้จาก Who owns personal data? (wdr2021.worldbank.org/spotlights/who-owns-personal-data/) 8. ตัวอย่างสารคดี “The Future Of” The Future Of | Official Trailer | Netflix (ruclips.net/video/0hgZPvMU7So/видео.html) 9. ปัจจุบัน ที่ดินในประเทศสิงคโปร์ประมาณร้อยละ 90 เป็นที่ดินของรัฐ ดูประวัติศาสตร์และข้อมูลเรื่องนี้เพิ่มเติมได้จากบทความ “Singapore's Imminent Expiration of Land Leases: From Growth and Equality to Discontent and Inequality?” (onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/tesg.12547) 10. แนวคิดพื้นฐานของ Alaska Permanent Fund ดูได้ที่ Alaska Permanent Fund (ruclips.net/video/ePlAAf2b_Io/видео.html) ปัจจุบัน กองทุนนี้จ่ายปันผลให้พลเมืองอลาสกา 1,312 ดอลลาร์ (ราว 4.5 หมื่นบาท) ต่อคนต่อปี (pfd.alaska.gov/) กองทุนนี้ช่วยลดความยากจนในอลาสกาได้ แต่ก็มีข้อถกเถียงถึงผลกระทบเชิงลบด้วย โดยเฉพาะการควบคุมและใช้กองทุนนี้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง อ่านเพิ่มเติมได้จากบทความ “Alaska’s universal basic income problem” (www.vox.com/future-perfect/2019/9/5/20849020/alaska-permanent-fund-universal-basic-income) 00:38 เกริ่นนำ 01:21 ทำไมต้องคุยเรื่อง ‘ความเป็นเจ้าของ’ 06:34 ความเป็นเจ้าของในทางกฎหมาย-ปฏิบัติ 09:37 การนิยามว่าอะไรเป็นของใคร 20:37 จะแก้ปัญหาเรื่องความเป็นเจ้าของอย่างไร 25.33 มีสิทธิเป็นเจ้าของแต่กลับเป็นเจ้าของไม่ค่อยได้? 47.14 คำถามทิ้งท้าย 49.23 Extra Cut
1. หนังสือที่เป็นต้นเรื่องของอีพีนี้ และชวนให้ผมกลับมาคิดว่าทำไมความเป็นเจ้าของจึงเป็นปัญหาในชีวิตประจำวันของมนุษย์มีสองเล่ม คือ
“Out of the Wreckage: A New Politics for an Age of Crisis” โดย จอร์จ มอนบิโอต์ (George Monbiot) ฉบับแปลไทยชื่อ “พังทลายแต่ไม่พ่ายแพ้: เรื่องเล่าเพื่อการเมืองที่เป็นของเราทุกคน” สำนักพิมพ์นิสิตสามย่าน
“Possessed: Why We Want More Than We Need” โดย บรูซ ฮูด (Bruce Hood) หนังสือเล่มนี้ยังไม่มีแปลไทย แต่สามารถฟังที่ฮูดพูดสรุปประเด็นหลักๆ ไว้ได้ที่ Mine! The Power of Ownership | Bruce Hood | TEDxSouthampton (ruclips.net/video/i0SNvg7X0Es/видео.html)
2. แนวคิดเรื่องสิทธิ์ความเป็นเจ้าของของจอห์น ล็อก อยู่ในหนังสือ “ความเรียงที่สองว่าด้วยการปกครอง” (The Second Treatise of Government) โดยเฉพาะในบทที่ 5
หนังสือเล่มนี้มีฉบับแปลไทย โดยอาจารย์สมบัติ จันทรวงศ์ สำนักพิมพ์คบไฟ
ฉบับภาษาอังกฤษอ่านออนไลน์ได้ที่ www.gutenberg.org/files/7370/7370-h/7370-h.htm#CHAPTER_V
3. อ่านกฎหมายฮัมมูราบี โดยเฉพาะตอนต้นๆ ที่อธิบายหน้าที่และสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนและอาณาจักรของกษัตริย์ได้จาก The Code of Hammurabi Translated by L. W. King (avalon.law.yale.edu/ancient/hamframe.asp)
4. ใครเป็นเจ้าของดวงจันทร์ได้บ้าง ลองฟังและอ่านเพิ่มเติมได้จาก
Who owns the Moon? (ruclips.net/video/pXh7vLTLTEc/видео.html)
Who owns the moon? (www.dw.com/en/who-owns-the-moon/a-63761917)
5. ตัวอย่างของชนเผ่าเมารี กับการทำให้แม่น้ำกลายเป็นนิติบุคคล อ่านเพิ่มเติมได้จาก
"‘นิติบุคคลแม่น้ำ’ แนวทางอนุรักษ์แม่น้ำวังกานุยในนิวซีแลนด์ กับการปรับใช้ในบริบทประเทศไทย" plus.thairath.co.th/topic/naturematter/103408
New Zealand’s Maori Won Personhood for This River (ruclips.net/video/YQZxRSzxhLI/видео.html)
6. ข้อถกเถียงสิทธิ์ในป่าชุมชนและสิทธิ์ในแม่น้ำที่ต่อยอดมาถึงประเทศไทย ดูได้จาก
จับใจคุย “สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง” (thecitizen.plus/node/58432)
ป่าสงวนไทย (สงวนไว้ให้ใคร?) | พูดมาก Podcast EP.51
(ruclips.net/video/XsvFHwIrRzQ/видео.html)
7. ประเด็นเรื่องความเป็นเจ้าของข้อมูลในโลกอินเตอร์เน็ต ดูสรุปย่อๆ และเอกสารอ่านเพิ่มเติมได้จาก Who owns personal data? (wdr2021.worldbank.org/spotlights/who-owns-personal-data/)
8. ตัวอย่างสารคดี “The Future Of”
The Future Of | Official Trailer | Netflix
(ruclips.net/video/0hgZPvMU7So/видео.html)
9. ปัจจุบัน ที่ดินในประเทศสิงคโปร์ประมาณร้อยละ 90 เป็นที่ดินของรัฐ ดูประวัติศาสตร์และข้อมูลเรื่องนี้เพิ่มเติมได้จากบทความ “Singapore's Imminent Expiration of Land Leases: From Growth and Equality to Discontent and Inequality?”
(onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/tesg.12547)
10. แนวคิดพื้นฐานของ Alaska Permanent Fund ดูได้ที่ Alaska Permanent Fund (ruclips.net/video/ePlAAf2b_Io/видео.html)
ปัจจุบัน กองทุนนี้จ่ายปันผลให้พลเมืองอลาสกา 1,312 ดอลลาร์ (ราว 4.5 หมื่นบาท) ต่อคนต่อปี (pfd.alaska.gov/)
กองทุนนี้ช่วยลดความยากจนในอลาสกาได้ แต่ก็มีข้อถกเถียงถึงผลกระทบเชิงลบด้วย โดยเฉพาะการควบคุมและใช้กองทุนนี้เพื่อประโยชน์ทางการเมือง อ่านเพิ่มเติมได้จากบทความ “Alaska’s universal basic income problem” (www.vox.com/future-perfect/2019/9/5/20849020/alaska-permanent-fund-universal-basic-income)
00:38 เกริ่นนำ
01:21 ทำไมต้องคุยเรื่อง ‘ความเป็นเจ้าของ’
06:34 ความเป็นเจ้าของในทางกฎหมาย-ปฏิบัติ
09:37 การนิยามว่าอะไรเป็นของใคร
20:37 จะแก้ปัญหาเรื่องความเป็นเจ้าของอย่างไร
25.33 มีสิทธิเป็นเจ้าของแต่กลับเป็นเจ้าของไม่ค่อยได้?
47.14 คำถามทิ้งท้าย
49.23 Extra Cut
🎉🎉
ชอบความที่คลิปนี้ยาว ทำให้เนื้อหาและการสนทนามีความครอบคลุมมากขึ้น ประเด็นที่เป็นประโยชน์ไม่ตกหล่น ที่สำคัญน้องฟางสดใสขึ้นมากครับ
เป็นหัวข้อที่น่าสนใจค่ะ ความเป็นเจ้าของใช้กับหลายอย่างหลายมิติ (ส่วนตัวสนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม) อย่างกรณี NZ ก็เป็นเรื่องที่ถือว่าล้ำมาก นอกจากนี้ในสายปรัชญาสิ่งแวดล้อมก็มีการถกเถียงเรื่องการจัดตั้งตัวแทน (หรือ Trust) สำหรับคนในอนาคตด้วย เพราะทรัพยากรชุมชน+ประเทศ+โลก ไม่ได้เป็นเฉพาะของคนในปัจจุบัน ลูกหลานก็ต้องใช้เพื่อดำรงอยู่เหมือนกัน
กลายเป็นเรื่องที่ต้องถกเถียงกันยาวเลยค่ะ เพราะหลายคนก็คิดว่าแต่คนในปัจจุบันใช้ก็แทบไม่พอละ ยังต้องเหลือให้คนในอนาคตอีก (+สิ่งที่ไม่ใช้คนอีก) เรื่องนี้จึงแตะโดนประเด็นจริยศาสตร์ด้วยค่ะ
ซึ่งก็คิดว่าเป็นเรื่องที่ต้องคำนึงด้วยน้า อย่างที่คุณภาคิณบอกว่า ใช้อย่างไรจึงไม่เหมาะสม-ไม่ถูกต้อง มันเป็นเรื่อง "ความรับผิดชอบ" ที่มาพร้อมกับความเป็นเจ้าของด้วย (กรณีลูก-สัตว์เลี้ยง จะชัดค่ะ ควบคุม/ใช้ประโยชน์ได้ แต่มี limit เชิง ethics อยู่)
ยาวเลย ยังไงรอฟังตอนต่อไปนะคะ ขอบคุณทีมงานค่ะ
รายการนี้ดีนะ ผมฟังแล้วคิดตามผมขอสรุปว่าเราจะเป็นเจ้าของทุกอย่างตราบเท่าที่ยังไม่โดนสิ่งใดใช้อำนาจมาแย่งความเป็นเจ้าของ
เช่น ผมเป็นเจ้าของทางช้างเผือกก็ได้ ถ้าไม่มีใครมาเถียง ใช้กำลัง หรือซื้อความเป็นเจ้าของไป
หรือแม้แต่ร่างกายผมก็อาจโดนแย่งความเป็นเจ้าของไปได้ด้วย ฆาตกร สัตว์ป่า ภัยพิบัติ หรือกาลเวลาก็ได้ และแน่นอนการอ้างความเป็นเจ้าของมั่วซั่วโดยไม่รู้ว่ามีอำนาจที่เหนือกว่าครอบครองอยู่แล้ว สุดท้ายจะต้องจ่ายด้วยทางใดทางนึง ไม่ว่าจะเป็นเงิน เวลา หรือว่าร่างกาย
ชอบค่ะ
อยากได้แนวคิดเชิงปรัชญากับความรักที่ให้ศิลปินหรือไอดอลมากๆเลยค่ะ ในทางทฤษฎีเราทราบว่า การสนับสนุนทุกอย่างเป็นเพียงความพึงพอใจของเราแต่ฝ่ายเดียว ที่ให้ศิลปิน แต่ในทางปฏิบัติ เป็นไปได้ยากเหลือเกินที่เราจะอดหวงแหนเขาไม่ได้ (สังเกตได้จากการที่ศิลปินทำอะไรไม่ตามขนบสังคม หรือแม้มีแฟน แฟนคลับ(ไม่ทุกคน)ก็จะผิดหวัง) แม้จะทราบข้อเท็จจริงว่าแฟนคลับคือ one-sided love แต่ก็อดที่จะเผลอหวง/ห่วงไม่ได้ แล้วพอมีสิ่งที่ทำให้ผิดหวัง หากแฟนคลับไม่จัดการความรู้สึกตนเอง ก็เลิกชอบ มันดูเหมือนเรื่องง่ายๆ แต่ว่าทำยากมากๆๆๆๆเลยค่ะ 🥺
ดันครับ
สาระ ศิลป์ ภาพ เสียง พิธีกรทั้งสอง ดีเยี่ยม ใครชอบEPนี้อย่าลืมกดไลค์นะครับ
เหมือนได้กลับมาเรียนเรื่องปรัญชา เเละบางเนื้อหาเกี่ยวข้องกับนิติปรัชญา น่าสนใจ เเละมีประโยชน์มากๆ ค่ะ
สนุกมากเลยค่ะ ติดตามดูมาทุกตอน ชอบวิธีการเล่า และการพูดคุยของคุณภาคินกับคุณฟางเข้าขากันได้ดี ไหลลื่นจนเราสนุกตามไปด้วยเลย ดีใจที่ได้เห็นคุณฟางจัดรายการแบบสนุกสนานและมีความสุข ขอบคุณทั้งสองคนนะคะ แถมยังมีรายละเอียดที่มาเนื้อหาข้อมูลให้ใน description ครบถ้วน เลิศเลอค่ามากๆ ❤
เพิ่งรู้ว่ามี podcast หัวข้อปรัชญาโดยเฉพาะ ขอบคุณนะคะ ชอบมากๆๆ❤
ไม่มีอะไรเลยที่เป็นของเรา
เราแค่คิดไปเองว่าสิ่งๆนั้นเป็นของเรา
มีแค่ชีวิต ความเชื่อและเจตจำนง ที่เป็นของเรา
เรามีความเห็นว่าไม่มีอะไรเป็นของเราจริงๆ
ถ้าชีวิตเป็นของเรา ทำไมเราคุมให้ไม่ทุกข์ไม่เจอเรื่องไม่ดีแล้วมีอายุเกินพันปีได้
ถ้าความเชื่อเป็นของเราแน่ใจหรือไม่ว่าไม่โดนอิทธิพลอื่นมาทำให้เราเชื่อแบบนั้น
ความจริง ที่ไม่ใช่ความจริง คือ ไม่มีอะไรเป็นของเราสักอย่าง เราถูกหล่อหลอมจากสิ่งต่างๆ เมื่อเราตระหนักรู้ถึงมัน เราก็จะรู้ว่า เราก็แค่ใช้มัน คนอื่นๆก็ใช้มัน ใช้เรา เหมือนกัน ดั้งนั้นข้อเสนอคือ เราควรช่วยกันบำรุงรักษาและใช้มันร่วมกันให้มันงอกงาม ดีงาม
สิ่งต่างๆที่เป็นอยู่ มันอยู่อย่างนั้นก่อนมีเรา ก่อนมีรัฐ ก่อนมีการตกลงกัน มันก็ไม่ใช่ของใครเลย มันคือ common
41:00 ชอบที่พูดถึงสตรีมมิ่งเจ้าหนึ่งแต่ไม่เอ่ยชื่อจนกว่าสปอนจะเข้า 5555 ซีรี่ส์นี้ชุดนี้ดีมากๆๆเลยค่ะ
เป็นการพูดที่ทำให้คิดตามและเห็นภาพได้ดีจริงๆ ครับ และแน่นอน ยาวเต็มอิ่มเลยครับ EP นี้ ฟังเพลินๆ รอติดตาม EP ต่อไปเลย
"ถ้าคุณไม่สามารถเป็นเจ้าของสิ่งใดได้เลย คุณก็จะกลายทรัพย์สิน ของคนที่ไม่ได้คิดแบบเดียวกับคุณ"
หากคุณสามารถเป็นเจ้าของ ทรัพยากร ทรัพย์สิน ที่สละเวลาในชีวิตเพื่อแลกมันมาได้ คุณก็คือเจ้าของมัน
คุณคือเจ้าของเวลาของคุณ
คุณคือเจ้าของทรัพย์สินของคุณ
ที่สุดท้ายมันจะสร้างอิสรภาพให้กับตัวคุณ
สนุกมากๆค่ะ เนื้อหาน่าสนใจมากก
เจ้าของที่ดีต้องเปนยังงัย ถึงไม่มองว่าสิ่งใดคนใดเปนของตาย...
เจ้าของกัน , กัน ที่เข้าใจกัน รึแย้งกันมาก เอารัดเอาเปรียบเอาแต่ใจ จึงทำให้กลายเปนไม่ชอบคำนี้ในคสพ.ที่ไม่ดี พูดไม่ได้ให้ความเมตตา รึให้ความเปนตัวตนกับอิกฝ่าย รึให้เชื่อฟัง ไม่เชื่อทำตาม จะโดนตามแบบที่คล่อมให้ตามฝ่ายที่นำ ตามเคยชิน ฯลฯ
ความดี ความจริง ที่ดี เปนสิ่งที่เข้าใจได้... อยู่ง่าย ทำกิน ทำ? ปลอดภัยกว่าอิกทาง
ด้านความรัก ตอนแรกเธอก็เป็นของเราแหละ เรามีสิทธิทุกอย่าง แต่บางเรื่องที่จะได้สิทธิจากเธอก็ต้องใช้เวลารดน้ำพรวนดินในกระถางต้นไม้เรา ใช่แล้ว ต้นไม้ที่เราปลูกมันไปโตในกระถางต้นไม้คนอื่น และนอกจากมันไปโตในกระถางต้นไม้คนอื่น ออกดอกออกผลมา ก็เอาไปลงกระถางใบอื่นๆอีก
ด้านการงานใช้แล้ว พวกเราเป็นคนคิดโปรเจค ลงไปทำงาน ทุ่มเทเวลา ใส่ใจในรายละเอียดทุกอย่าง สุดท้ายแล้ว คนถ่ายรูป คนแสดงผลงานไม่ใช่เรา เขาเป็นใครก็ไม่รู้ไม่เคยเจอตอนทำงานมาก่อน
ฉากยังกับในหนังสือเลยยย ชอบค่ะ
ชอบรายการนี้มากๆๆๆ อยากให้อัพ week ละ 3 วัน แงง
ชอบๆ ชอบแบบยาวๆเต็มๆแบบนี้
การพึ่งตาตนเองได้เป็นสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานของมนุษย์ชาติ แต่ทุกวันนี้เราทำไมกลายเป็นคนที่พึ่งพาตนเองไม่ได้(ไม่ว่าจะเป็นจิตใจหรือร่างกาย)ในขณะที่การเข้าถึงความรู้สะดวกง่ายดาย ถ้าเราพึ่งพาตนเองได้แล้วแบ่งปันกันจากเราไปสู่คนรอบข้างสู่ชุมชนสู่สังคมสู่ประเทศชาติ แล้วโลกจะมีความสงบมิตรไมตรีมีความรักที่บริสุทธิ์ต่อกัน ❤ (ไม่ใช่ถูกการจัดตั้งแบบที่เห็นกันซึ่งไม่ได้มาจากใจจริงของทุกคน)
โดนน้องแมวจากปกคลิปตกเข้ามาดูเลยค่า ฟังเพลินมาก
สรุปง่ายๆเลยบนโลกใบนี้ไม่มีอะไรเป็นของเราเลยมันเป็นเพียงมายาเกิดมาก็ไม่มีอะไรติดตัวมาเวลาตายก็ไม่ได้เอาอะไรไปได้เลย...ไม่มีใครเป็นของใครนี่คือสัจธรรม
John locke ต้องมาแล้วไหม
คนใส่ insert นี่ฮาจริงครับ แต่ละมุก ชอบๆ ^^
คลิปยาวเต็มอิ่มเลยวันนี้ ❤
41:00 ชื่อหนังเรื่อง black mirror
เอาหวะแบ่ง 2 part เลยแสดงว่าประเด็นนี้ยาว
ดีแล้วครับแบบนี้ แฟนๆรายการค่อยหายคิดถึงหน่อย
ปล.เพลงพี่เบิร์ดนี่มาบ่อยแหะ 555
เห็นเวลาของคลิปนี้แล้วชื่นใจสุดๆ
ชอบยาวๆแบบนี้ครับ ฟังสบายเพลินๆ
ฟังคลิปนี้หลายรอบแล้ว คิดว่าการสตรีมมิ่งชีวิตคนใดคนหนึ่งน่าจะเป็นไปได้นะ อาจใช้ AI สร้างภาพและเสียงอัตโนมัติ
ความเป็นเจ้าของนี้ คือหนึ่งในรากปัญหาของการใช้สิ่งที่เป็น "นามธรรม" มาก่อให้เกิดเป็น "รูปธรรม" ขึ้น หากมองในเชิงความคิดทางธรรมชาติแล้ว สิ่งใดที่เป็นรูปธรรม จะมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพได้เสมอ ในขณะที่ นามธรรม ไม่มีรูปร่างจึงไม่เปลี่ยนแปลงทางกายภาพได้ มันจึงเกิดความชัดแย้งขึ้นในตัวเอง และความขัดแย้งนี้จะยิ่งรุนแรงหากมีความยึดมั่นในรูปธรรมนั้นผ่านนามธรรมนั้น หากอยากลดความขัดแย้งดังกล่าวลงก็จำเป็นที่จักต้องลดความยึดมั่นถือมั่นในรูปธรรมและนามธรรมนั้นลง
เงินที่เป็นของเราจริงๆ ที่รัฐบาลหรือไม่ว่าใครหน้าไหนก็พรากมันไปจากเราไปไม่ได้ มันคืออะไรกันน้าาาาาาาาาา
เงิน FIAT แน่นอน
แค่เงินก็คุยกันยาวแล้ว แม้ดูเหมืแนจะเป็นของเรา และคุมได้ 100% แต่เบื้องหลังมันไม่ใช่
เงินมันกำหนดมาด้วยปริมาณที่พิมพ์และนโยบาย แถมไม่พอโดนอายัดได้ด้วย
นั้นสิเงินอยู่ตรงไหน กลางได้ไหม😂
36:13 ลูกโตมาเป็นวัยรุ่น... ขำแทบพุ่ง ฮ่าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
ขอบคุณครับ
เอ้อ...กำลังคิดว่าแปลกเนอะ ยกประเด็นนี้มาคุย ‘ความเป็นเจ้าของ’ ก็คงเป็นปัญหาสำคัญมั๊งของบางคนบางกลุ่ม ผมพื้นๆกับ ‘ความเป็นเจ้าของ’ คือไม่ได้มีแง่ลึกซึ้งอะไรกับเรื่องนี้ เช่น จ่ายเงินไป ซื้อรถ ซื้อบ้าน ซื้อโน่นี่นั่น มันก็เป็นของผม จบ ส่วนใหญ่มันมีกฏหมายกฏกติการองรับ ‘ความเป็นเจ้าของ’ อยู่แล้ว
แต่อยากให้คุยประเด็นที่ปรัชญาถูกด้อยค่าโดยพวกวัตถุนิยม/บริโภคนิยม เพราะพวกนี้เอาเงินเป็นหลัก อะไรพอทำเงินได้ก็ทำแล้ว ข้อเสียก็จะทำเป็นไม่รู้ไม่เห็น คุย/โฆษณาแต่ข้อดีเพื่อหาเงินเข้ากระเป๋าตัวเอง คิดเยอะคิดลึกซึ้งไม่ได้เดี๋ยวจะเห็นข้อไม่ดีแล้วขายของลำบากและทั้งอาจต้องรับผิดชอบที่มันสร้างปัญหาด้วย โลกมันถึงทำลายทำร้ายได้สร้างปัญหามากมายอย่างทุกวันนี้และก็ยังทำต่อไป ความรับผิดชอบไม่มี ไม่รู้ ไม่เห็น
ทั้งด้านการเมืองการปกครองคือโง่ก็จะได้ปกครองง่าย ส่งเสริมปรัชญาการคิดให้ลึกซึ้งถ้วนถี่จึงเป็นอุปสรรคของคนแย่ๆพวกหลงตัวเอง เห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้มากกกกเกินของพวกนี้
ทั้งพวกดีแต่เปลือก ชอบสร้างภาพที่มีอยู่เยอะในสังคมเรา ก็เพราะมองกันง่ายๆ ไม่ลึกซึ่งถ้วนถี่ ไม่มองให้ถึงแก่น เลยดีแต่เปลือก ดีแต่สร้างภาพ ข้างในก็เละเทะ หาแก่นสารไม่ค่อยได้ อีกปัญหาใหญ่ของสังคมไทย/โลก ทุกวันนี้
คลิปยาวๆแบบนี้ ชอบจริงๆเลยเชียวว ขอแบบนี้อีกค้าบบ
ขอแนะนำครับ อยากให้เสียงพี่ภาคินดังอีกนิดนะครับ ปรับให้เสียงพี่เขาหนาเเละทุมอีกนิดจะฟันลื่นหูมากครับ
ส่วนหลังๆ ตรงพาร์ทข้อมูลของเรากับเจ้าของแพลตฟอร์มมันเชื่อมโยงกับความเป็นปรัชญาชัดๆ ในมุมไหนบ้างฮะ อาจจะช่วยสรุป in brief ให้หน่อย (สงสัยจริงๆ)
หลักๆ คือเรื่องความเป็นเจ้าของนี่แหละครับ ว่าตกลงมันเป็นของใครกันบ้าง กำหนดเรื่องความเป็นเจ้าของให้ชัดเจน ก็จะเปิดทางให้เราคิดเรื่องการคุ้มครองสิทธิ์และการใช้งาน รวมถึงผลประโยชน์จากการใช้งานได้ชัดเจนขึ้น
ยกตัวอย่างเช่น Andrew Ng เคยเสนอว่า อเมริกาควรจ่ายเงินคล้ายๆ ปันผลหรือ UBI ให้ประชาชนอเมริกัน โดยนำเงินส่วนนี้มาจากภาษีที่เรียกเก็บจากบริษัทโซเชียลมีเดีย เหตุผลคือ ข้อมูลในโลกออนไลน์เป็นของผู้ใช้งาน เจ้าของแพลตฟอร์มขอข้อมูลไปใช้ทำกำไร ดังนั้น กำไรส่วนหนึ่งจึงควรตอบแทนกลับไปสู่เจ้าของข้อมูลจริงๆ ไม่ต่างอะไรกับการให้เช่าบ้านหรือเช่าที่ดินไปเปิดกิจการครับ
ว่าด้วยเรื่องของสิทธิ์และการให้สิทธิ์!!!
การยกสิทธิ์ให้!!!
ฉันยกสิทธิ์ให้เธอ…เธอยกสิทธิ์ให้ฉัน!!!
🤭🤭🤭✌️✌️✌️🤗🤗🤗
^ ^
ชอบคลิปนานๆ เป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกคนคร้าบบบ
ถ้าเราไม่คิดว่าสิ่งใดเป็นของเราเลย เราจะขาดแรงจูงใจและคุ้นชินกับสิ่งที่ไม่เคยมี
ไม่มีเรา ของเรา แค่ปรากฏการณ์ของสะสารที่เกิดเนื่องกันมาตามการกำเนิดของโลกและจักรวาล.
Thanks
ขอขอบคุณสำหรับการสนับสนุนและกำลังใจ ทีมงานจะพัฒนาคุณภาพของเนื้อหาและการนำเสนอคอนเทนต์ที่ดีต่อไปค่ะ 💜
รอฟังต่อ ทำไมวันนี้ไม่มีครับ
สิ่งที่เป็นเจ้าของเองได้จริงๆ มีแค่ บิตคอยน์ครับ
ถ้ามีพูดเรื่องความเป็นเจ้าของอีกอยากให้พูดถึงแนวคิดของพระพุทธเจ้าเรื่องเกี่ยวกับตัวเราของเราด้วยนะครับ ผมคิดว่าเป็นคอนเซ็ปที่น่าสนใจและอยากฟังจากรายการนี้ครับ 😃
เดี๋ยวหลังจากนี้จะมีอีพีเกี่ยวกับตัวตนเลย รอติดตามได้เลยครับ :)
เป็นกำลังใจให้ทีมงานนะครับ
ชอบแบบยาวๆมากครับ
ขนาดเราเองน่าจะเป็นเจ้าของตัวเราเอง บางทียังใช้ชีวิตไม่เป็นของตัวเองเลย ยากแท้หัวข้อนี้
ps. ถ้ามีแมวมาเดินจริงก็คงดี
ยาวสะใจ ชอบ
พรหมลิขิตไม่เคยเป็นของเรา เราไม่ได้กำหนด ชื่อก็บอกแล้วว่าพรหมลิขิตซึ่งมาในรูปแบบประเพณี วัด แม่สื่อ ร้านเหล้า ปัจจุบันพรหมบทบาทน้อลง ก็เลยเป็นอินสตาแกรมลิขิต เฟซบุ๊คลิขิต ทินเดอร์ลิขิต ซึ่งมันก็แบบเดียวกัน
14:20 คิดถึงเรื่อง The Martian ที่พระเอกปลูกมันฝรั่งบนดาวอังคารสำเร็จ แล้วแกก็ประกาศว่า ผมเป็นเจ้าของที่ดินบนดาวอังคารนี้แล้วนะ นี่มันมุกปรัชญานี่หว่า 555
ถามง่ายๆแต่ตอบยาก ได้หลายแง่หลายมุม ดีไม่ดีไปถึงชาติที่แล้ว
Bitcoin ฮะ เป็นเจ้าของที่แท้ทรู ไม่มีใครแทรกแซง 😅
ผมดูจบแล้วเห็นคำถาม เซอร์ไพรส์มากครับ เรื่องเงินคือผมตอบก่อนดูจบ แต่เรื่องจริงครับ
ถ้าพูดถึงเรื่องความเป็นมาของเงิน ทอง มันเละมามากเพราะรัฐเข้าไปจัดการทั้งหมด พิมเองทั้งหมด หมดความหวังแบบแย่มากๆ ไหนจะเงินเฟ้ออะไรอีก เรื่องใหญ่ครับ
ใครที่คิดว่าบิทคอยมันไม่ดีอะไรก็แล้วแต่ แต่ส่วนตัวคิดว่าอุดมการณ์ของบิทคอยคือมาแก้ปัญหาเรื่องนี้แบบเต็มๆ และเราเป็นเจ้าของจริงๆ (อย่าเก็บไว้ใน exchange นะ)
อยากฟังเรื่อง Free will ว่าคนเรามีอิสระจริงไหมครับ
รอฟังได้เลยครับ มาแน่นอน :)
นึกถึงประวัติศาสตร์ 8 นาทีที่ก็ไม่ 8 แล้ว shortcut นี่ก็เป็นชั่วโมง 55555 ชอบแบบยาวๆนะครับ แต่ขอแซวหน่อย
นี่คือแก่นของศาสนาพุทธเลย การไม่ยึดติด
อะไรที่คุณถือ Private Key เอง และไม่มีใครแทรกแซงธุรกรรมได้ มันคือของๆคุณที่แท้จริง
นั่นคือ Bitcoin
ผมเคยได้ยินแต่ บ้านหลวง
Shortcut แบบจุก ๆ
อู้วว ยาวๆแบบนี้ตลอดปัยย~~ ขอส่งกำลังใจทีมงานน ทุกท่านนะครับบ
พวกของที่มันสมควรจะเป็นของส่วนรวมก็ควรจะเป็นของส่วนรวมนะ อย่างดวงจันทร์เนี่ยมันก็เป็นสิ่งที่คนทั้งโลกควรจะเป็นเจ้าของ ถ้าสมมุติว่ามีกระต่ายดวงจันทร์อาศัยอยู่แล้วเราคุยกับเค้าได้ เราก็ต้องหาทางออกร่วมกันว่าจะอยู่ร่วมกันยังไง ในโลกอนาคตอีกพันปีข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนเรายังคงเห็นแก่ตัวกันอยู่
เปลี่ยนเวลาเหรอคะ
ใช่ค่ะ เปลี่ยนเป็นทุกวันศุกร์ 6 โมงเย็นนะคะ
ยึดสิ่งก็ทุกสิ่งนั้น😂
Black Mirror ตอน Joan Is Awful สินะ 😂
เรื่องที่คุณฟางพูดต่อจากนั้นทำให้นึกถึงอีกตอนนึงของซีรี่ส์นี้เลยชื่อ Hang the DJ
การเมือง ขยี้อีก ขยี้อีก i want moreee
ชีวิต
Bitcoin
มิน่าละศาสนาพุทธจึงพูดเรื่องนี้ มันเป็นปรัชญาอย่างหนึ่งนี่เอง
ปกคริปมีแมวเกาะหัว ถ้าเอาแมวจริงมาก็คงดี5555
ไม่มีอะไรเป็นตัวกู ไม่มีอะไรเป็นของกู ความทุกข์จะเกิดทึ่ไหนได้
ของเทร่
อิสราเอล กับ ปาเลสไตน์😂😂
นี่เป็นรายการปรัชญารายการแรกของประเทศไทยเลย
ช่อง อ. สมภาร พรมทา ครับ ก่อนที่สุดและดีที่สุดแล้วเรื่องปรัชญา
@@JaoBoss อาจารย์แกสอนลูกศิษย์อยู่แล้ว และแกอัดเสีบงมาลง
@@mmaarrkkeett yes.
ประเทศเป็นของเราไหม? อิอิ
ถ้าถามเรื่องความเรื่องความเป็นเจ้าของ "เงิน" กับ libertarians ละก็...
- เงินคืออะไร?
- ใครมีอำนาจในการกำหนดว่าอะไรเป็นเงิน อะไรไม่ใช่เงิน?
- อำนาจในการควบคุมเงิน หรือระบบการเงิน ควรมีอยู่หรือไม่ หรือควรอยู่ในมือใคร?
- มนุษย์มีสิทธิในการเลือกว่าจะใช้สิ่งใดเป็นเงินด้วยตัวเองหรือไม่?
- เงินมีกี่รูปแบบ แต่ละรูปแบบมีคุณสมบัติต่างกัน ความเป็นเจ้าของในเงินแต่ละแบบก็ไม่ได้มีลักษณะเหมือนกันใช่หรือไม่?
- ฯลฯ
คิดจะถามคนพวกนี้ด้วยคำถามแบบนี้ อาจต้องถามตัวเองก่อนครับว่ามีเวลาฟังพวกมันพล่ามกี่ชั่วโมง 555
ประเทศนี้เป็นของใครรรร
พูดวกวน เวื้อนเว้อ
มันเป็นปรัชญาาาาาา เป็นกิจกรรมทางปัญญาาาาา ของคนมีเวลาาาาา
"กรรม"ไงล่ะ
วิธีผมคือของการรู้คือธรรมชาติของทุกคนจ้าของการสร้างวัตถุขึ้นจากแต่ไช้จ้าของแท้ผู้อาศัยและควรผู้อาศัย
ตอนนี้ไม่น่าจะไม่มีที😅โทรสับเลงก็เอาเสียแล้ว