Размер видео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показать панель управления
Автовоспроизведение
Автоповтор
สั่งซื้อหนังสือ The Race of Civilization : อารยะแข่งขัน bit.ly/buytheracebook
ประตูโพธิ์พระยา สร้างปี 2464 ครับ ไม่ใช่ 2446 ครับ และสร้างรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 6) สมัยนั้นกรมชลประทานได้รับการแต่งตั้งเป็นกรมทดน้ำ โดยการก่อสร้างประตูระบายน้ำโพธิ์พระยา ที่ตำบลโพธิ์พระยา อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2464 และเป็นโครงการชลประทานแห่งแรกของแม่น้ำสุพรรณบุรีหรือเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศไทย
น้ำท่วมทุกปี คำถาม กรมชลประทาน ติดปัญหาตรงไหน 1.องค์ความรู้้ 2.นักการเมือง 3.งบประมาณ 4.ช้าราชการไดโนเสาร
ที่อุดมสมบูรณ์ร.๕ ขุดไว้ให้ใช้น้ำเพือ่การเกษตรแต่คนสมัยปัจจุบันเอาที่เหล่านี้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมและบ้านจัดสรรคนก็เลยไปรุกป่าทำป่าให้เป็นนาเป็นสวนครับ
การเก็บน้ำไว้ใต้ดินดีสุด อยากใช้เมื่อไหร่ค่อยดูดขึ้นมาใช้
ขอบพระคุณอาจารย์ครับสำหรับการบรรยายและให้ความรู้ครับ🙏🙇🏻❤️
น้ำท่วมทุกปี 4000 โครงการเงียบกริบ 😂😂😂😂
บ้านผมหาดใหญ่เห้นไม่ท่วม
@@hhhhhh. ขุดคลองออกไปท่วมแถวรอบนอก ตามึงบอดหรอ ? 😂
เห้อ....กูหล่ะเหนื่อย
4000โครงการไม่ใช่เรื่องน้ำทั้งหมดนะครับ ศึกษาดีๆ
@ แล้วไงวะ ? น้ำยังท่วมทุกปี แร้งทุกปี หลอกขายปูนสร้างเขื่อนไม่พอ หลอกควายให้เชื่องได้อีกเกือบ60ล้านตัว 5555555
ถ้าประเทศไทยจะทำมันทำได้อยู่แล้วครับแต่มันติดขัดที่บริษัทก่อสร้างใหญ่ๆเขาจะต้องได้งานทำตลอดถ้าจะมาลงทุนไม่กลับ project ทั้งรถไฟฟ้าทั้งคลองทั้งถนนภายใน 4-5 ปีแล้วต่อจากนั้นเขาจะเอางานที่ไหนทำเขาไม่ยอมหรอกครับ
กรมชลประทาน อยู่มาเป็น 100 ปี แต่พื้นที่ให้น้ำได้มีไม่ถึง 25% ของพื้นที่เกษตร แถมประสิทธิภาพการใช้น้ำก็ต่ำ สงสัยต้องรอให้ครบ1000ปี
ฟังคลิป 5 นาทีแรก แล้วพิจารณางบประมาณ สิ่งแวดล้อม การเมือง ประกอบ
เคยเห็น พอจะสร้างเขื่อน อ่าง มีเอ็นจีโอ มานำประท้วงคัดค้าน งงเหมือนกัน
ดูจบแล้วลงคลิบใหม่เลยคับ
การจัดทำกิจการชลประทานขนาดใหญ่ เริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อ 2458 โครงการเขื่อนพระราม 6 อำเภอท่าเรือ จังหวัดนครศรีอยุธยา ครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูก 680,000 ไร่ สร้างทั้งหมดนี้เสร็จตามโครงการเมื่อ 2467 ประมาณนี้นะครับ
คลองชลประทานแรก น่าจะเป็นคลองแสนแสบครับ ขุดมาเกือบ200ปี ตอนแรกขุดเพื่อขนส่ง ทำให้ได้ทุ่งพระโขนงในการทำนา
ใช่ครับ แต่เป็นคลองคมนาคมเป็นหลัก ทำให้เปิดความเจริญสองฝั่งคลอง ขึ้นกับว่า คลองชลประทานหมายถึงอะไร โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)โปรดเกล้าฯให้ ชาวมุสลิม มาจาก ปัตตานี ขุดคลองเริ่มจากคลองมหานาคบริเวณวัดบรมนิวาสไปถึงหัวหมาก เริ่มจากหัวหมาก ผ่านคลองสามเสน คลองตัน เรียกว่าคลองแสนแสบ ผ่านบางขนากไปออกแม่น้ำบางปะกง เป็นระยะทางยาว 1,337 เส้น 19 วา 2 ศอก (ประมาณ 72 กิโลเมตร) จึงตั้งชื่อคลองตามชุมชนที่คลองขุดไปถึงว่า บางขนากจึงตั้งชื่อคลองตามชุมชนที่คลองขุดไปถึงเรียกว่าคลองบางขนาก เพื่อใช้ขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังพล และเสบียงอาหารในราชการสงครามกับญวน และเป็นทางเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกง เพื่อจึงใช้เป็นทางลัดระหว่างพระนครกับเมืองฉะเชิงเทราและเมืองปราจีนบุรี ใช้ในการขนส่งสินค้าได้อย่างสะดวก แล้วตั้งถิ่นฐาน ริมคลอง ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาคลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้น ตามพระราชดำริของ เพื่อเชื่อม แม่น้ำเจ้าพระยา กับ แม่น้ำบางปะกง เข้าด้วยกัน
มีการจัดการแบบบูรณาการ เป็นคำที่สวยหรูมากเลยนะ แต่ ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น ความจริงน่าจะใช้คำว่า จัดการแบบ ร้านอาหาร ถึงจะถูกต้อง ตูจะทำอย่างนี้ แดกไม่แดกก็ช่าง เพราะบูรณาการที่กล่าวถึงนั้น ไม่มีผู้ได้ประโยชน์โดยตรงเข้าไปมีส่วนร่วม มีแต่นักวิชาการ นักอนุรักษ์ และนักการเมือง เขาคุยอะไรก่อน งบประมาณจะใช้เท่าไหร่ เป็นหัวใจของบูรณาการ ทั้งที่จริงมันควรจะเป็นคนในพื้นที่นั้นๆที่ต้อง เข้าไปมีส่วนเสนอแนะ เพราะเป็นผู้จะได้ประโยชน์โดยตรง และมีประสบการณ์เรื่องพื้นที่มากกว่าใคร เรื่อง แก้มลิง นี่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องทำความเข้าใจ ถึงหลักการ และวิธีการ ให้นักการเมืองเข้าใจ ในภาคอิสาน มีการนำเสนอให้สร้าง แก้มลิง แก้ไขปัญหาน้ำหลาก ก็พอเข้าใจได้ แต่จะใช้แก้มลิงแก้ปัญหาน้ำท้วม อย่างนี้ก็มี มันมั่วไปหมด เพราะคำว่า บูรณาการ ขาดผู้มีความรู้และประสบการณ์ในพื้นที่ มาให้คำแนะนำ ปัญหาใหญ่ก็คือ คนทำงาน มีอีโก้สูง ไม่อยากคุยกับคนธรรมดา จะแต่กับผูู้นำ นักการเมืองในท้องที่ ซึ่งคนเหล่านี้ที่มาของเขาไม่ได้มาจากอาชีพ ที่เกี่ยงข้องโดยตรงอย่าง เกษตรกรในพื้นที่ จึงไม่มีข้อมูลที่เหมาะสมในการจะนำไปแก้ปัญหา หรือให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่าต่อการเสียงบประมาณ เลิกใช้ได้แล้วคำว่า บูรณาการ ถ้ายังไม่เห็นหัว ผู้มีความรูู้ แต่ขาดอำนาจอย่างประชาชน
ชลประทานบางเส้นก็ไม่จำเป็นคับ เช่น แถวบ้านผม หน้าแล้งไม่มีน้ำ หน้าฝนเอาไว้ระบายน้ำไม่ให้เข้าตลาดเฉยๆ เสียพื้นที่ทำการเกษตรเปล่าประโยชน์อปูนเทร่องก็แตกหมด ดูไปดูมาก็เหมือนโครงการที่นักการเมืองเอาไว้ผลาญงบ
ช😊
ใช่โครงการมักจะเข้าไม่ถึงตำบล หมู่บ้าน
ถูกต้องที่สุดแล้วครับ 👍👍👍
นักการมาจากการเลือกตั้งของประชาชน 😂
เทปนี้คงเป็นโครงการ ปชสพ ของกรมชลฯ ราคาน่าจะเอาเรื่องอยู่ไม่แน่ใจว่าคุ้มมั้ยเพราะบางทีช่องทางนี้มันเฉพาะกลุ่มไปหน่อย
สวัสดีครับ เฮียวิท
เพิ่มเติมเรื่องฤดูกาล ทางตอนใต้ของประเทศไทยมี 4 ฤดู ฤดูฝน ฤดูฝนมาก ฤดูร้อน และฤดูร้อนมาก ครับ55555555
คนไทยจะวิวัฒนาการกลายเป็นต้นกระบองเพชรเคลื่อนที่แล้ว
👍👍👍👍
สวัสดีครับเฮียวิทย์
Immer noch keine gute Entwässerung
ฝรั่งนี่เก่ง เนาะ
🙏🇲🇲🫡
🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉
สั่งซื้อหนังสือ The Race of Civilization : อารยะแข่งขัน bit.ly/buytheracebook
ประตูโพธิ์พระยา สร้างปี 2464 ครับ ไม่ใช่ 2446 ครับ และสร้างรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 6) สมัยนั้นกรมชลประทานได้รับการแต่งตั้งเป็นกรมทดน้ำ โดยการก่อสร้างประตูระบายน้ำโพธิ์พระยา ที่ตำบลโพธิ์พระยา อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2464 และเป็นโครงการชลประทานแห่งแรกของแม่น้ำสุพรรณบุรีหรือเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศไทย
น้ำท่วมทุกปี คำถาม กรมชลประทาน ติดปัญหาตรงไหน 1.องค์ความรู้้ 2.นักการเมือง 3.งบประมาณ 4.ช้าราชการไดโนเสาร
ที่อุดมสมบูรณ์ร.๕ ขุดไว้ให้ใช้น้ำเพือ่การเกษตรแต่คนสมัยปัจจุบันเอาที่เหล่านี้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมและบ้านจัดสรรคนก็เลยไปรุกป่าทำป่าให้เป็นนาเป็นสวนครับ
การเก็บน้ำไว้ใต้ดินดีสุด อยากใช้เมื่อไหร่ค่อยดูดขึ้นมาใช้
ขอบพระคุณอาจารย์ครับ
สำหรับการบรรยายและให้ความรู้ครับ🙏🙇🏻❤️
น้ำท่วมทุกปี 4000 โครงการเงียบกริบ 😂😂😂😂
บ้านผมหาดใหญ่เห้นไม่ท่วม
@@hhhhhh. ขุดคลองออกไปท่วมแถวรอบนอก ตามึงบอดหรอ ? 😂
เห้อ....กูหล่ะเหนื่อย
4000โครงการไม่ใช่เรื่องน้ำทั้งหมดนะครับ ศึกษาดีๆ
@ แล้วไงวะ ? น้ำยังท่วมทุกปี แร้งทุกปี หลอกขายปูนสร้างเขื่อนไม่พอ หลอกควายให้เชื่องได้อีกเกือบ60ล้านตัว 5555555
ถ้าประเทศไทยจะทำมันทำได้อยู่แล้วครับแต่มันติดขัดที่บริษัทก่อสร้างใหญ่ๆเขาจะต้องได้งานทำตลอดถ้าจะมาลงทุนไม่กลับ project ทั้งรถไฟฟ้าทั้งคลองทั้งถนนภายใน 4-5 ปีแล้วต่อจากนั้นเขาจะเอางานที่ไหนทำเขาไม่ยอมหรอกครับ
กรมชลประทาน อยู่มาเป็น 100 ปี แต่พื้นที่ให้น้ำได้มีไม่ถึง 25% ของพื้นที่เกษตร แถมประสิทธิภาพการใช้น้ำก็ต่ำ สงสัยต้องรอให้ครบ1000ปี
ฟังคลิป 5 นาทีแรก แล้วพิจารณางบประมาณ สิ่งแวดล้อม การเมือง ประกอบ
เคยเห็น พอจะสร้างเขื่อน อ่าง มีเอ็นจีโอ มานำประท้วงคัดค้าน งงเหมือนกัน
ดูจบแล้วลงคลิบใหม่เลยคับ
การจัดทำกิจการชลประทานขนาดใหญ่ เริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อ 2458 โครงการเขื่อนพระราม 6 อำเภอท่าเรือ จังหวัดนครศรีอยุธยา ครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูก 680,000 ไร่ สร้างทั้งหมดนี้เสร็จตามโครงการเมื่อ 2467 ประมาณนี้นะครับ
คลองชลประทานแรก น่าจะเป็นคลองแสนแสบครับ ขุดมาเกือบ200ปี ตอนแรกขุดเพื่อขนส่ง ทำให้ได้ทุ่งพระโขนงในการทำนา
ใช่ครับ แต่เป็นคลองคมนาคมเป็นหลัก ทำให้เปิดความเจริญสองฝั่งคลอง ขึ้นกับว่า คลองชลประทานหมายถึงอะไร โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)โปรดเกล้าฯให้ ชาวมุสลิม มาจาก ปัตตานี ขุดคลองเริ่มจากคลองมหานาคบริเวณวัดบรมนิวาสไปถึงหัวหมาก เริ่มจากหัวหมาก ผ่านคลองสามเสน คลองตัน เรียกว่าคลองแสนแสบ ผ่านบางขนากไปออกแม่น้ำบางปะกง เป็นระยะทางยาว 1,337 เส้น 19 วา 2 ศอก (ประมาณ 72 กิโลเมตร) จึงตั้งชื่อคลองตามชุมชนที่คลองขุดไปถึงว่า บางขนากจึงตั้งชื่อคลองตามชุมชนที่คลองขุดไปถึงเรียกว่าคลองบางขนาก เพื่อใช้ขนส่งอาวุธยุทธภัณฑ์ กำลังพล และเสบียงอาหารในราชการสงครามกับญวน และเป็นทางเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกง เพื่อจึงใช้เป็นทางลัดระหว่างพระนครกับเมืองฉะเชิงเทราและเมืองปราจีนบุรี ใช้ในการขนส่งสินค้าได้อย่างสะดวก แล้วตั้งถิ่นฐาน ริมคลอง ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาคลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้น ตามพระราชดำริของ เพื่อเชื่อม แม่น้ำเจ้าพระยา กับ แม่น้ำบางปะกง เข้าด้วยกัน
มีการจัดการแบบบูรณาการ เป็นคำที่สวยหรูมากเลยนะ แต่ ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น ความจริงน่าจะใช้คำว่า จัดการแบบ ร้านอาหาร ถึงจะถูกต้อง ตูจะทำอย่างนี้ แดกไม่แดกก็ช่าง เพราะบูรณาการที่กล่าวถึงนั้น ไม่มีผู้ได้ประโยชน์โดยตรงเข้าไปมีส่วนร่วม มีแต่นักวิชาการ นักอนุรักษ์ และนักการเมือง เขาคุยอะไรก่อน งบประมาณจะใช้เท่าไหร่ เป็นหัวใจของบูรณาการ ทั้งที่จริงมันควรจะเป็นคนในพื้นที่นั้นๆที่ต้อง เข้าไปมีส่วนเสนอแนะ เพราะเป็นผู้จะได้ประโยชน์โดยตรง และมีประสบการณ์เรื่องพื้นที่มากกว่าใคร เรื่อง แก้มลิง นี่ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องทำความเข้าใจ ถึงหลักการ และวิธีการ ให้นักการเมืองเข้าใจ
ในภาคอิสาน มีการนำเสนอให้สร้าง แก้มลิง แก้ไขปัญหาน้ำหลาก ก็พอเข้าใจได้ แต่จะใช้แก้มลิงแก้ปัญหาน้ำท้วม อย่างนี้ก็มี มันมั่วไปหมด เพราะคำว่า บูรณาการ ขาดผู้มีความรู้และประสบการณ์ในพื้นที่ มาให้คำแนะนำ ปัญหาใหญ่ก็คือ คนทำงาน มีอีโก้สูง ไม่อยากคุยกับคนธรรมดา จะแต่กับผูู้นำ นักการเมืองในท้องที่ ซึ่งคนเหล่านี้ที่มาของเขาไม่ได้มาจากอาชีพ ที่เกี่ยงข้องโดยตรงอย่าง เกษตรกรในพื้นที่ จึงไม่มีข้อมูลที่เหมาะสมในการจะนำไปแก้ปัญหา หรือให้เกิดประโยชน์สูงสุด และคุ้มค่าต่อการเสียงบประมาณ เลิกใช้ได้แล้วคำว่า บูรณาการ ถ้ายังไม่เห็นหัว ผู้มีความรูู้ แต่ขาดอำนาจอย่างประชาชน
ชลประทานบางเส้นก็ไม่จำเป็นคับ เช่น แถวบ้านผม หน้าแล้งไม่มีน้ำ หน้าฝนเอาไว้ระบายน้ำไม่ให้เข้าตลาดเฉยๆ เสียพื้นที่ทำการเกษตรเปล่าประโยชน์อปูนเทร่องก็แตกหมด ดูไปดูมาก็เหมือนโครงการที่นักการเมืองเอาไว้ผลาญงบ
ช😊
ใช่โครงการมักจะเข้าไม่ถึงตำบล หมู่บ้าน
ถูกต้องที่สุดแล้วครับ 👍👍👍
นักการมาจากการเลือกตั้งของประชาชน 😂
เทปนี้คงเป็นโครงการ ปชสพ ของกรมชลฯ ราคาน่าจะเอาเรื่องอยู่ไม่แน่ใจว่าคุ้มมั้ยเพราะบางทีช่องทางนี้มันเฉพาะกลุ่มไปหน่อย
สวัสดีครับ เฮียวิท
เพิ่มเติมเรื่องฤดูกาล ทางตอนใต้ของประเทศไทยมี 4 ฤดู ฤดูฝน ฤดูฝนมาก ฤดูร้อน และฤดูร้อนมาก ครับ55555555
คนไทยจะวิวัฒนาการกลายเป็นต้นกระบองเพชรเคลื่อนที่แล้ว
👍👍👍👍
สวัสดีครับเฮียวิทย์
Immer noch keine gute Entwässerung
ฝรั่งนี่เก่ง เนาะ
🙏🇲🇲🫡
🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉