การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 8 апр 2020
  • คลิปการสอนวิชา Electrical System Designs คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง

Комментарии • 16

  • @user-sb3tk9vu2d
    @user-sb3tk9vu2d 3 года назад +1

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @user-us2pi5gc7o
    @user-us2pi5gc7o 4 года назад +2

    ขอบคุณคลิปการสอนครับอาจารย์

  • @RSathapat1983
    @RSathapat1983 4 года назад +2

    ขอบคุณครับ

  • @jahmorn_7531
    @jahmorn_7531 4 года назад +1

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับอาจารย์

  • @MilkThunnapat
    @MilkThunnapat 3 года назад +1

    ขอบคุณค่ะ มีประโยชน์มากๆเลยค่ะ

  • @user-qe8ny4ip9d
    @user-qe8ny4ip9d 3 года назад +1

    เป็นประโยชน์มากครับอาจารย์ 🙏🙏🙏

  • @ArtSkyy-iw7fb
    @ArtSkyy-iw7fb 4 месяца назад

  • @user-ls3uu9by7f
    @user-ls3uu9by7f 11 месяцев назад

    รบกวนสอบถาม การปรับปรุงค่า power factor ในทางการออกแบบปกติเรากำหนดที่ 0.80 ปรับปรุงเป็น 0.95 จะได้ค่าปรับปรุงโดยประมาณ 30% ของขนาด kVA หม้อแปลง โดยในการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังควรจะต้องวัดแล้วมาแก้หรือเปล่าครับ หรือแนวทางในการกำหนดค่าตัวประกอบกำลัง ควรกำหนดยังไงในการแก้ค่าตัวประกอบกำลัง ขอบคุณครับ

    • @ChaichanPothisarn
      @ChaichanPothisarn  11 месяцев назад +1

      ตอนออกแบบไม่มีใครคำนวณได้ว่าระบบไฟฟ้าในแบบตอนที่ใช้งานจะมี power factor เท่าไร
      แต่ power factor เป้าหมายคือ 0.85 lagging ต่ำกว่านี้เสียค่า kvar charge สูงกว่านี้ก็ไม่ได้เงินคืน
      cap bank ขนาด 30% ของขนาด kVA หม้อแปลง สามารถปรับ power factor 0.7169 lagging เป็น 0.85 lagging ได้ครับ

  • @pps.sks1985
    @pps.sks1985 3 года назад

    อาจารย์ครับผมรบกวนสอบถามข้อมูลหน่อยครับ
    สมมุติว่าความถี่ในระบบไฟฟ้าสูงขึ้น จะทำให้โหลดแอลมีกำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้นด้วยหรือเปล่าครับ
    ยกตัวอย่างเช่น แหล่งจ่าย 220 โวลท์ จากเดิมมีความถี่ในระบบไฟฟ้าที่ 50 เฮิร์ต จ่ายให้โหลด L ตัวหนึ่ง ก็จะมีค่ากำลังไฟฟ้าที่ค่าค่าหนึ่ง
    แต่ถ้าแหล่งจ่ายสูงขึ้นเป็น 60 Hz หรือ 100 Hz แต่แรงดันเท่าเดิมที่ 220 โวลท์ จะทำให้โหลดมีกำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้นหรือเปล่าครับ
    แล้วกำลังไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นทั้ง active power และ reactive power เลยหรือเปล่าครับ
    ขอบคุณครับอาจารย์

    • @ChaichanPothisarn
      @ChaichanPothisarn  3 года назад +1

      ค่า XL = 2(pi)f
      ถ้า f เพิ่ม XL ก็เพิ่ม
      กำลังไฟฟ้ารีแอกทิฟ Q = V x I(L) = V x (V / XL) XL เพิ่ม Q ก็ลด
      กำลังไฟฟ้าแอกทิฟ P = V x I(R) ไม่เกี่ยวกับค่า L
      กำลังไฟฟ้าปรากฏ S = sqrt(P2 + Q2)

    • @pps.sks1985
      @pps.sks1985 3 года назад

      @@ChaichanPothisarn
      ขอบคุณครับอาจารย์

    • @ChaichanPothisarn
      @ChaichanPothisarn  3 года назад +1

      ตกไปครับ
      ค่า XL = 2 x (pi) x f x L

    • @pps.sks1985
      @pps.sks1985 3 года назад

      @@ChaichanPothisarn
      ขอบคุณครับอาจารย์

  • @chok-d67
    @chok-d67 Год назад

    อาจารย์ครับขอสอบถามเกี่ยวกับตารางภาคผนวก ญ \ ญ-3
    ในหนังสือมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 หน่อยครับ
    ในตารางที่ว่านี้ หัวข้อในตาราง พูดถึงเรื่องเซอร์กิตเบรกเกอร์ IEC 60947-2
    ในตารางนี้ระบุเป็น Type B กับ Type C
    ซึ่งเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ผลิตตามมาตรฐานนี้ แบ่งเป็น category A กับ category B ไม่ใช่เหรอครับ
    ผมก็เลยงงว่าทำไมในหนังสือระบุเป็น Type B กับ Type C

    • @chok-d67
      @chok-d67 Год назад

      ถ้าดูในภาคผนวก จ. \ จ-1
      มีการระบุข้อมูลของ circuit breaker ที่ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-2 หรือ IEC 947-2
      ข้อมูลในหน้านี้เป็นข้อมูลถูกต้องครับ
      ก็คือมีการแบ่งประเภทของ circuit breaker ที่ผลิตตามมาตรฐานนี้ เป็นกลุ่ม A กับ B
      ข้อมูลที่หน้านี้ถูกต้องครับ
      แต่พอไปดูในภาคผนวก ญ \ ญ -1
      ทำไมข้อมูลตรงส่วนนี้มันผิดครับ
      ทำไมไประบุเซอร์กิตเบรกเกอร์ มาตรฐาน IEC 60947-2 ว่า Type B กับ Type C
      ในภาคผนวก ญ \ ญ-3
      หน้านี้ก็จะเป็นตารางเกี่ยวกับเซอร์กิตเบรกเกอร์ ที่ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-2
      ในหน้านี้ก็ไปเรียกเซอร์กิตเบรกเกอร์ ที่ผลิตตามมาตรฐานนี้ว่า Type B กับ Type C เช่นกัน
      ซึ่งมันเป็นข้อมูลผิดนะครับอาจารย์
      จริงๆจะต้องเรียกเป็นกลุ่ม A หรือ B
      ผมก็งงว่าทำไมข้อมูลไม่ตรงกับภาคผนวก จ \ จ-1 ทั้งๆที่ข้อมูลในหน้านี้ เรียกเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-2 ว่า ประเภท A กับ ประเภท B
      รบกวนอาจารย์หาคำตอบให้ด้วยครับ เพราะอ่านเนื้อหาแล้วงงมาก
      เพราะถ้าเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-2
      จะไปเรียกว่า Type B กับ Type C เหมือนกับ circuit breaker ตามมาตรฐาน IEC 60898 ไม่ได้นะครับ
      เพราะว่าเป็นคนละมาตรฐานกัน
      ผมก็งงว่าผู้เรียบเรียงข้อมูลใส่ข้อมูลมาผิดหรือเปล่าครับ
      รบกวนอาจารย์หาคำตอบให้ด้วยนะครับ
      ขอบคุณมากครับอาจารย์