การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยพื้นฐาน ด้วยสถิติเชิงพรรณาและการวิเคราะห์องค์ประกอบ

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 27 дек 2024

Комментарии • 26

  • @wararaksajit2891
    @wararaksajit2891 Год назад +1

    กราบค่ะอาจารย์ หนูงงมาหลายอาทิตย์แล้วค่ะ คลิปนี้ช่วยชีวิตนักศึกษาป โทในอังกฤษเลยค่ะ ขอบคุณสำหรับคลิปมากๆเลยนะคะอาจารย์❤❤❤❤❤❤❤

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  Год назад +1

      โอ้โห You Made My Day ❤️ จริงๆ อาจารย์อ่านคอมเม้นท์ของหนูแล้วใจฟู มีความสุขมากเลยค่ะ ดีใจที่คลิปของอาจารย์ช่วยให้การเรียนรู้ของหนูในต่างแดนผ่านไปได้ด้วยดีนะคะ ☺️👌

  • @creamk376
    @creamk376 3 года назад +1

    ขอบคุณมากนะคะอาจารย์ ทำตามได้ง่ายมากค่ะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад +1

      ขอบคุณสำหรับคำชมนะคะ 🥰🙏 อาจารย์มีกำลังใจทำคลิปอื่นๆ เพิ่มเลยค่ะ 😍😍😍

  • @cyo1992
    @cyo1992 3 года назад

    ขอบคุณอาจารย์มากๆครับ สอนเข้าใจมากเลยครับ

  • @wannapatraisakdipol928
    @wannapatraisakdipol928 Год назад

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์อธิบายได้เข้าใจเข้ามาฟังแล้วทำให้ง่ายต่อการนำไปใช้

  • @wipapornmalawet7638
    @wipapornmalawet7638 Год назад

    ถ้านักเรียนมี15คน ควรใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบไหนคะ หรือสามารถใช้ t-test ได้คะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  Год назад

      ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนเด็กนักเรียนค่ะ ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการจะวิเคราะห์อะไร t test จะใช้การวิเคราะห์ความแตกต่างของข้อมูลที่เรามี และข้อมูลนั้นจะมีแค่ 2 อย่างเช่น ก่อนสอบและหลังสอบ แบบนี้จะใช้ pair t-test

  • @nanibot4704
    @nanibot4704 3 года назад

    อธิบายเข้าใจมากเลยค่ะ จะมีต่อไหมคะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      ถ้าในเนื้อหานี้ จะครบเนื้อหาแล้วค่ะ สถิติตัวอื่นจะมีคลิปที่เผยแพร่ไว้ในช่องแล้วนะคะ ลอง search ในช่องของอาจารย์ดูนะคะ 😊
      หรือ สนใจเรื่องไหนเป็นพิเศษมั้ยคะ

    • @nanibot4704
      @nanibot4704 3 года назад +1

      @@dr.jirapa พอดีกำลังหาวิธีวิเคราะห์แบบสอบถามที่มี moderating variable ด้วย SPSS ค่ะ พอคำแนะนำไหมคะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      ให้หนูศึกษาแนวทางการทดสอบ Moderator จากเปเปอร์ของอาจารย์เปเปอร์นี้นะคะ น่าจะช่วยให้เข้าใจได้ค่ะ ชื่อแบบจำลองตามสถานการณ์ฯ
      Link. For. Download 👇
      www.vu.ac.th/apheitvu/journal_v5n2.html

    • @nanibot4704
      @nanibot4704 3 года назад +1

      @@dr.jirapa ขอบคุณมากๆเลยนะคะ

  • @OriLooksorn
    @OriLooksorn 3 года назад +2

    ถ้า output ออกมาแล้วข้อคำถามมันไม่สามารถเอามารวมกันได้ไม่ผ่านเกณฑ์ที่อาจารย์บอก เราควรทำยังไงต่อคะ แก้ไขอะไรได้ไหมคะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      มันจะเกิดจากเนื้อความของคำถามค่ะ​ บางครั้งเกิดจาก​ แต่ละข้อไม่ได้ถามในประเด็น​เดียวกันหรือถามคนละเรื่องกัน.. มันจึงไม่สามารถรวมกันได้
      ดังนั้น​ การสร้างแบบสอบถาม​จึงเป็นสิ่งสำคัญ​
      ถ้าเก็บข้อมูล​มาแล้ว​ วิธี​การแก้ไข​คือ​ต้องย้อนกลับไปดูค่าน้ำหนักองค์ประกอบ​ (Factor​ Loading)​ ข้อไหนต่ำ​ ให้ลองตัดออก​ แล้วรันใหม่ค่ะ​ ดูค่า​ตาม​ cut of ที่บอกค่ะ​ ว่าผ่านเกณฑ์​หรือยัง​
      ตัวแปรนึงอาจจะใช้ข้อคำถามในการวัดแค่​ 3-5​ ข้อก็พอค่ะ​ ที่เหลือตัดออกได้ค่ะ​ ตัดแล้วก็รัน​ค่าความน่าเชื่อถือใหม่ค่ะ​ (Realiability)​ ว่าผ่านเกณฑ์​มั้ย​ แล้วถึงจะคำนวณตัวแปรใหม่

    • @OriLooksorn
      @OriLooksorn 3 года назад +1

      @@dr.jirapa ขอบคุณมากๆเลยนะคะ💕

  • @littleyooyeechannel6995
    @littleyooyeechannel6995 3 года назад

    อาจารย์มีคลิป แบบจำลอง Logit model มั้ยครับ

  • @chuthamaneejantala7859
    @chuthamaneejantala7859 3 года назад +1

    สอบถามนิดนึงได้ไหมคะ ที่อ.สอน factor analysis ที่รวมคำถาม หลายข้อ ขยำเป็น ข้อ้ดียวกัน ถ้า ไม่ครบ องค์ประกอบ4จุด ที่ อ. บอก เช่น ผ่าน3จุด ยังสามารถรวมกันได้ไหมคะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      ไม่ผ่านในเกณฑ์​ไหนคะ​ ลองอธิบาย​ให้​ฟัง​ได้มั้ยคะ

    • @chuthamaneejantala7859
      @chuthamaneejantala7859 3 года назад +1

      @@dr.jirapa เกณฑ์ ตัว Initial Eigenvalues เช่น fun มี4 ข้อ ค่าจะต้องได้เกิน 4 ใช่เปล่าคะ แต่ของหนู มี คำภาม 7ข้อ แต่รวมกัน ได้ แค่ 4. กว่าๆ เองค่ะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад +1

      @@chuthamaneejantala7859 น่าจะเข้าใจผิดค่ะ ไม่ใช่ว่าจะต้องได้ 4 หรือ 7 ตามที่หนูอธิบายนะคะ 😊💕 เวลาพิจารณาค่า eigen จะต้องได้เกิน 1 ค่ะ
      เช่น ตัวแปรที่ชื่อ Fun มาจากการถามด้วยคำถาม 4 ข้อ แต่ทั้งหมดสะท้อนถึงคำว่า "ความสนุก (Fun)" ดังนั้น เวลาที่เรา Run Factor Analysis มันจะต้องรวมเป็นก้อนเดียวกันได้ หมายถึง จะต้องมีแค่ 1 component เท่านั้น (มองช่องซ้ายสุดนะคะ) ช่องนั้นจะมีค่า eigen เกิน 1 ค่ะ ค่านั้นจะเท่าไหร่ก็ได้ แล้วแต่เครื่องจะคำนวณมาให้ ..พอในแถวที่เป็น component 2 👉จะเห็นว่าค่า eigen จะต่ำกว่า 1 นั่นหมายความว่า ตัวแปรนี้มีแค่องค์ประกอบเดียว หรือ รวมเป็นกัอนเดียวกันได้ 👌 เราจึงสามารถสร้างตัวแปรใหม่ชื่อว่า Fun จากการรวมคำถาม 4 ข้อนั้นได้ค่ะ 😊💕

    • @chuthamaneejantala7859
      @chuthamaneejantala7859 3 года назад

      @@dr.jirapa เข้าใจแล้วค่ะ ขอบพระคุณมากๆนะคะอาจารย์ที่สละเวลาตอบคำถาม ขอบคุณมากๆค่ะ

  • @Pazcha30
    @Pazcha30 3 года назад

    อยากให้อาจารย์สอน tobit ด้วยค่ะ ขอบคุณนะคะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      อาจารย์ใช้ไม่เป็นค่ะ ขออภัยด้วยน้าา 🥰❤️🥰

    • @Pazcha30
      @Pazcha30 3 года назад

      @@dr.jirapa ทำเป็นแล้วค่ะอ. ดูตามคลิปฝรั่งเอา ส่วนเชิงพรรณาก็ทำตามคลิปอ. ขอบพระคุณอ.มากๆ เลยค่ะ

    • @dr.jirapa
      @dr.jirapa  3 года назад

      @@Pazcha30 ขยันจริงๆ​ เลยค่ะ​ 🥰 จบไวๆ​ นะคะ​ ❤️❤️❤️