RC Design(SDM): ตัวอย่างการออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดทางเดียว ด้วยวิธีกำลัง

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 9 янв 2025

Комментарии •

  • @อิสรภาพกันทะวงค์

    อาจารย์ครับช่วยการออกแบบพื้นสองทางด้วยได้รึป่าวครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      พื้นสองทาง จะคิดแบบ statically indeterminate แต่ใช้วิธีการเปิดตารางค่าสัมประสิทธิ์ โดยใช้ค่าจากตารางส.ป.ส.จาก วสท หรือ ACI ผมแสกนมาสอนในมหาวิทยาลัย แต่ถ้าทำลองRUclips ต้องพิมพ์ใหม่ทั้งหมดครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      คุณเคยทะเบียนเรียนกับผมมาแล้วนี่ครับ 555
      ยังว่าชื่อคุ้นๆ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      inbox ไปที่ facebook การประยุกต์ หรือ ออกแบบคอนกรีตฯ
      ศิษย์เก่า เดี๋ยว ลองดูว่า เข้าไปดูใน MS Team ได้หรือเปล่า

  • @chaiyachairop4752
    @chaiyachairop4752 2 года назад

    อาจารย์ครับ อาคารอเนกประสงค์จัดเป็น อาคารสาธารณะไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      มีคนเข้าไปได้เยอะๆ ก็สาธารณะ
      ดูที่กิจกรรม ถ้าไม่ชัวร์สอบถามไปยังสถาปนิก หรือ เจ้าของ

    • @chaiyachairop4752
      @chaiyachairop4752 2 года назад

      @@CivilEngineeringsStudio ขอบพระคุณครับอาจารย์

  • @gogoome9665
    @gogoome9665 Год назад

    สวัสดีครับอาจารย์ครับ
    อาจารย์มีหนังสือRc design แนะนำไหมครับ ผมจะไปซื้อไว้มาอ่านศึกษาเพิ่มเติมครับผม🙏

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  Год назад

      เห็นมี ดร.มงคล มทส. เป็น pdf ครับ
      ถ้าเป็นเล่ม ผม อ่าน ดร.วินิต ครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  Год назад

      แล้วก็ อ่าน Textbook ครับ ถ้าได้ไป CU book ก็จะไปดู แต่หลังๆ ดู pdf ของมหาลัยในต่างประเทศครับ

  • @suriyapongjowanta8650
    @suriyapongjowanta8650 2 года назад +1

    Pb ถ้าคานเสริมแผ่นเหล็กใต้ท้องคาน Pb ยังเป็นสูตรเดิมไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      ถ้ามีแผ่นเหล็กประกบใต้คาน น่าจะต้องไปสาย Composite Section แล้วใช้ Strain Compatibility หาหน่วยแรงคำนวณกลับเป็น Force แล้วนำไป Take Moment หน้าตัดอีกที

  • @GhGh-tm8jh
    @GhGh-tm8jh 6 лет назад +4

    อธิบายชัดเจนครับ

  • @CY-ey4sd
    @CY-ey4sd 3 года назад +1

    ถ้าเทคอนกรีตลีนไม่เสริมเหล็กรับนั่งร้านมีตัวอย่างคำนวนหาความหนา
    ไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад +1

      ไม่เคยคำนวณแบบนี้ครับ ท่าทางจะเป็นงานขนาดใหญ่ น่าจะใช้แนวเดียวกับออกแบบ Pavement
      __ ต้องไปหาถามในกลุ่มมืออาชีพที่เขาเคยคำนวณแล้วครับ

    • @CY-ey4sd
      @CY-ey4sd 3 года назад +1

      @@CivilEngineeringsStudio ขอบคุณครับ

  • @fggjfghh9004
    @fggjfghh9004 3 года назад +1

    ถ้าเป็นวิธีพื้น สองทาง คำนวณแบบเดียวกันไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  3 года назад +1

      ในส่วนออกแบบตรวจสอบความหนาและหาปริมาณเหล็กเสริมเหมือนกัน แต่การหาค่าโมเมนต์ไม่เหมือนกันครับ จะใช้วิธีเปิดค่าสัมประสิทธิ์ครับ

  • @chaiyachairop4752
    @chaiyachairop4752 2 года назад +1

    ขออนุญาตครับ
    มีข้อสงสัยครับ
    การออกแบบ rc design มีด้วยกัน2วิธีคือ
    1. WSD
    2. SDM
    2วิธีนี้เวลาเราจะออกแบบเพื่อยื่นก่อสร้างสามารถใช้2วิธีนี้ combine กันได้ไหมครับ
    ตัวอย่างเช่น
    -คาน เสา พื้น ใช้ SDM
    -ฐานรากแผ่ ใช้ WSD

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      ไม่ควรครับ ต้องเลือกสักวิธีครับ ป้องกันการสับสนในการคำนวณน้ำหนักบรรทุก
      WSD -> ใช้ ServiceLoad(D+L) วิเคราะห์
      SDM -> ใช้ UltimatLoad(1.7D+2.0L) วิเคราะห์

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      ขอทราบเหตุผลครับ ที่ต้องการทำรายการคำนวณสองวิธีร่วมกันในรายการคำนวณเล่มเดียวกัน

    • @chaiyachairop4752
      @chaiyachairop4752 2 года назад

      @@CivilEngineeringsStudio เหตุผลตรงๆเลยไม่ถนัดวิธี sdm ในส่วนของฐานรากครับ ถนัดแต่ wsd ครับอาจารย์ ตอนเรียนที่มอของผมอาจารย์ท่านสอนสลับวิธีออกแบบครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      @@chaiyachairop4752 สำหรับฐานราก วิธีหน่วยแรง หรือ วิธีกำลัง ขั้นตอนจะคล้ายกันเลยครับ ตอนคิดแรงเฉือนก็เหมือนกัน ปรับแต่ค่าสัมประสิทธิ์หน่วยแรง กับ แรงที่เทียบ Mode Service หรือ Mode Ultimate

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      @@chaiyachairop4752 แต่ก่อนผมก็ถนัดแต่ WSD ภายหลังมาศึกษาทบทวน ผมว่าก็ OK แล้วโปรแกรมออกแบบต่างประเทศก็จะมีแต่ SDM กับ EuroCode ไม่มี WSD

  • @bonun1
    @bonun1 3 года назад +1

    โรบี 0.0389 มาจากตรงไหนครับ

  • @tobaction9512
    @tobaction9512 5 лет назад +2

    ค่าโรแม๊ก 0.75 มาจากไหนครับพี่

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  5 лет назад

      เป็นข้อกำหนดของ ACI กับ วสท. ครับ ถ้าจะออกแบบเป็นหน้าตัด singly ห้ามเกินครับ ไม่งั้น 1)ขยายหน้าตัด 2) ออกแบบเป็น doubly หรือ คานตัวที

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  5 лет назад

      ก่อนดูการออกแบบพื้น ให้ออกแบบคานsingly ให้เป็นก่อน

  • @pornjateboonsawang4864
    @pornjateboonsawang4864 4 года назад

    อาจารย์มีไฟล์หนังสือไหมครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  4 года назад

      จัดทำเป็นเอกสารประกอบการสอนใช้ภายในสถานศึกษาเท่านั้นครับ เพื่อให้รับการยกเว้น ตาม พรบ.ลิขสิทธิ์ครับ

  • @chaiyachairop3040
    @chaiyachairop3040 2 года назад

    อาคาร1ชั้น ดาดฟ้า span Center to center =5 เมตร แล้วมีคาน cantilever ออกจากตัวอาคารไป 2 เมตร มีพื้น slab typeขนาดพื้น 2*5 เมตร วางบนคาน cantilever ทั้งสองชิ้น details เหล็กเสริมคานเป็นเหล็ก (บน) ขนาด 20 มม จำนวน 4 เส้น เหล็กด้านล่างก็ 4 เส้น ขนาดของหน้าตัดของคาน cantiliver = 0.25*0.55 พอหน้างานนำไปใช้งานจริง เกิดการ crack บริเวณกลางคานจากด้านบนจนถึงด้านล่าง เป็นแนวตรง คำถามคือ สิ่งที่เกิดขึ้นนั้น อันตรายไหมครับ? และควรที่จะเริ่มตรวจสอบที่ไหนก่อนบ้าง? และวิธีตรวจสอบ จะต้องตรวจสอบอย่างไร? รบกวนอาจารย์ ชี้แนะทีครับ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад

      ต้องเห็นสภาพจริงก่อนครับ ต้องให้วิศวกรเข้าไปตรวจสภาพอาคารในเบื้องต้นครับ

    • @chaiyachairop3040
      @chaiyachairop3040 2 года назад

      @@CivilEngineeringsStudio ขอบคุณครับอาจารย์

  • @stamptonsgunners
    @stamptonsgunners 5 лет назад +3

    ขอบคุณครับ

  • @natzmaruto
    @natzmaruto 6 лет назад

    ติดตามครับผม

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  6 лет назад +1

      มีเวลาก็จะทำมาเรื่อยๆครับ

    • @natzmaruto
      @natzmaruto 6 лет назад

      ขอบคุณมากๆครับ

    • @neverdiedarknoob8777
      @neverdiedarknoob8777 5 лет назад

      ตรง13.99เส้นนี่ปัดเป็น14ได้เปล่าครับ
      แล้วระยะห่างปัดเป็น13ได้ไหม เพื่อการทำงานได้ง่ายขึ้น

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  5 лет назад +1

      การคำนวณระยะห่างของเหล็กเสริมในช่วงหน้าตัด 1 เมตร จะเป็นการคิดพื้นที่เฉลี่ยเลยจะไม่มีการปัดเศษ แต่13.99 ปัดเป็น 14 ก็ไม่ทำให้คำตอบสุดท้ายเบี่ยงไปมากจนมีนัยยะ ส่วนระยะห่างที่คำนวณเป็นเชิงตัวเลขที่เอาไปใช้เปรียบเทียบ ถ้าใช้งานจริงก็ปรับได้ แต่ต้องไม่เกินจากค่าที่ต้องการจากการคำนวณ ถ้าไม่แน่ใจ จัดเหล็กเสริมให้กับแผ่นพี้นแล้วให้ลองวิเคราะห์ Mu ของหน้าตัดให้เกินกว่า Mu ที่เกิดจากน้ำหนักบรรทุกประลัย ก็จะใช้ได้โดยมีความมั่นใจ

  • @CivilEngineeringsStudio
    @CivilEngineeringsStudio  6 лет назад +6

    อ้าว สูตร Ru ผิด ต้อง Ru = Mu/( ϕbd^2) ตัวค่า ϕ หาไป โดยใช้ ϕ=0.90

    • @hrezy6314
      @hrezy6314 5 лет назад +1

      ถ้า Ru ตามนั้น As = RB9 @0.14 เลยนะครับ , ไม่มีข้อถูกเลย

  • @viphonephetphoupheng8418
    @viphonephetphoupheng8418 3 года назад +1

    ขอบคุณครับ

  • @mmarasewwyu6273
    @mmarasewwyu6273 2 года назад

    แล้วถ้าเป็นที่จอดรถอะค่ะมันคำนวณวิธีอะไรหรอคะ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад

      หมายถึงที่จอดรถในบ้าน ที่กำหนดแผ่นพื้นเป็นแบบ slab on ground หรือครับ?

    • @mmarasewwyu6273
      @mmarasewwyu6273 2 года назад

      @@CivilEngineeringsStudio ใช่ค่ะ

    • @CivilEngineeringsStudio
      @CivilEngineeringsStudio  2 года назад +1

      จะเป็นการออกแบบ slab on elastic foundation จะเป็นสาย Pavement จะเปิด chart ลองหาคำว่า "ออกแบบแผ่นพื้นวางบนดิน"

    • @mmarasewwyu6273
      @mmarasewwyu6273 2 года назад

      @@CivilEngineeringsStudio ขอบคุณมากค่ะ 🙏