นิวเคลียร์ฟิวชัน คืออะไร? ทำไมเป็นความหวังพลังงานสะอาดไร้ขีดจำกัด | TODAY LIVE

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 14 дек 2022
  • ความหวังในการผลิตพลังงานสะอาดที่สามารถใช้งานได้อย่างไร้ขีดจำกัด เริ่มเข้าใกล้ความเป็นจริงมากขึ้น เมื่อนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันสามารถทลายข้อกำจัดของการผลิตพลังงานด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันได้สำเร็จ นับเป็นอีกก้าวสำคัญในประวัติศาสตร์วงการวิทยาศาสตร์และพลังงาน
    .
    #MakeTomorrowTODAY
    ข่าว ข่าววันนี้ ข่าวด่วน ข่าวธุรกิจ
    สาระความรู้สำหรับวันนี้
    workpointTODAY LIVE
    รายการข่าวออนไลน์ พร้อมประเด็นพูดคุยที่น่าสนใจ
    ทุกวันจันทร์-ศุกร์ 18.00 น. ช่องทางออนไลน์ของเรา
    #workpointTODAY
    ข่าวเวิร์คพอยท์ทีวีช่อง 23 ตลอดทั้งวัน
    / newsworkpoint
    Website: workpointtoday.com
    Facebook: / workpointtoday
    RUclips: / workpointtoday
    Instagram: / workpointtoday
    Twitter: / workpointtoday
    Tiktok: / workpointtoday
    Podcast by workpointTODAY
    Apple Podcast apple.co/31pJLD0
    Google Podcast bit.ly/2FJrBo9
    Spotify spoti.fi/2HeG2RO
    Podbean bit.ly/3m4nouy

Комментарии • 186

  • @asddd444888
    @asddd444888 Год назад +8

    ถ้าใช้ได้จริงโลกนี้จะดีขึ้นเยอะเลยครับเพราะไม่ว่าจะผลิตไฟฟ้าจากแก๊สจากน้ำมัน จาก นิวเคลียร์หรือถ่านหินล้วนแล้วแต่ทำลายโลกหนักมาก

  • @UNDERGROUNDWEED
    @UNDERGROUNDWEED Год назад +4

    ถ้าทำได้ เรื่องเดินทางบนอวกาศน่าจะง่ายขึ้น

  • @hotchicjeab
    @hotchicjeab Год назад +1

    ลูกชายได้ offer มหาวิทยาลัยที่USA สาขา Nuclear Engineer แต่ทางคุณพ่อน้องกลัวจะหางานยากสำหรับคนต่างชาติ เลยอาจต้องเบนเข็มไปทาง bio engineer เสียดายมากค่ะลูกชายเค้าขอบทางด้านพลังงานสะอาดมาก

  • @peekayla3110
    @peekayla3110 Год назад +9

    ใครไม่เข้าใจว่ามันคืออะไร ให้นึกภาพตามนี้ เมื่อก่อนเราเคยจินตนาการว่า ทำไมเราไม่เปิดหลอดไฟสักหลอดแล้วเอาแผงโซล่าเซลวางล้อมรอบหลอดไฟที่เราเปิดเพื่อที่จะได้ดูดแสงจากหลอดไฟให้กลายเป็นไฟฟ้า เพื่อส่งให้หลอดไฟนั้นอีกที ซึ่งมันทำแบบนั้นไม่ได้ในความเป็นจริง เพราะมันเป็นการสร้างพลังงาน
    แต่ข่าวนี้บอกว่าเรากำลังจะทำแบบนั้นได้แล้ว นั่นก็คือการสร้างพลังงานขึ้นมาเอง

    • @theoneyouknowwhonoonecall5693
      @theoneyouknowwhonoonecall5693 Год назад

      กฎอนุรักษ์พลังงาน(Conservation of energy) เป็นกฎในทางฟิสิกส์ที่กล่าวว่า พลังงานโดยรวมในระบบแยกส่วน หนึ่ง ๆ จะมีค่าเท่าเดิม หรือพูดได้ว่าพลังงานจะถูกอนุรักษ์ตลอดช่วงเวลา พลังงานที่ป้อนเข้าไปในระบบใดระบบหนึ่ง จะเท่ากับพลังงานที่ส่งออกมา พลังงานไม่สามารถถูกสร้างขึ้นใหม่หรือถูกทำลาย มันทำได้แต่เพียงเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานรูปแบบอื่นเท่านั้น .

    • @walkafterworkwaw7641
      @walkafterworkwaw7641 Год назад

      @@theoneyouknowwhonoonecall5693 ถ้าทำได้สำเร็จ จะได้พลังงานมากว่าที่ใส่เข้าไป แต่ไม่ขัดกฎ

    • @walkafterworkwaw7641
      @walkafterworkwaw7641 Год назад

      @@mka7516 คนละตัวกันเลย ยังไม่มีเครื่องไหนทำแบบดวงอาทิตย์ได้เลยครับ

    • @__---2675
      @__---2675 6 месяцев назад

      แน่นอนครับว่าไม่ขัด เพรามวลและพลังงานคือสิ่งเดียวกัน และพลังงานที่เราได้จากปฏิกิริยานี้ก็มาจากมวลที่หายไปของสสารนั่นแหละครับ ​@@walkafterworkwaw7641

    • @naptw8152
      @naptw8152 Месяц назад

      คือเข้าใจผิดกันนิดหน่อยครับ พลังงานที่ออกมาคือพลังงานจากตัวกัมมันครับ ส่วนพลังงานที่ป้อนเข้าไปคือ พลังงานที่ใช้จุดชนวนให้เกิดปฎิกิริยาฟิวชั่นได้ครับ ถ้าจุดได้แล้วมันไหลยาวเหมือนไฟลามทุ่ง(และบึ้มในที่สุด)
      สรุปที่ผมได้จากคลิปคือ เราสามารถจุดฟิวชั่นได้ โดยง่ายกว่าเดิม เดิมทีใช้ระเบิดฟิชชั่นเพื่อจุดฟิวชั่นให้ติด มันยากมากเป็นล้านองศา

  • @suwitekkawat6607
    @suwitekkawat6607 Год назад +6

    ยิวทำได้ เก่งมาก สบายๆ

  • @recruitterror
    @recruitterror Год назад +18

    ประเทศผู้ผลิตน้ำมันไม่ถูกใจสิ่งนี้ หากนิวเคลียร์ฟิวชั่นเป็นที่ยอมรับและสามารถทำให้แพร่หลายได้ในนานาชาติ
    นั่นหมายความว่าความต้องการในเชื้อเพลิงแบบเก่าจะลดลง ถึงจะไม่ใช่ในเร็วๆ นี้ แต่นั่นอาจหมายถึงความไม่มั่นคงด้านรายได้ของประเทศกลุ่มผู้ผลิตพลังงานในอนาคต ความต้องการอาจจะไม่ถึงขั้นเป็นศูนย์ แต่ราคาน้ำมันน่าจะร่วงยับแน่ๆ ถ้าถึงวันนั้น

    • @manamfrost
      @manamfrost Год назад +2

      เกิดส่งคราม yuri red alert

    • @user-ye6pl9xz6j
      @user-ye6pl9xz6j Год назад +7

      ผมมองตรงกันข้าม
      เพราะ ประเทศผลิตน้ำมันส่วนใหญ่ตอนนี้เริ่มเหลือน้ำมันไม่เยอะแล้ว
      โดยมีเฉลี่ยเหลือพอใช้แค่30ปีเท่านั้น
      แปลว่าหลังจาก30ปีเขาก็อาจจะหาเงินจากน้ำมันไม่ได้แล้ว
      ซึ้งผมมองว่าเขาน่าจะเอาเงินที่ได้จากน้ำมันเนี่ยมาลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ๆแทน

    • @Juymunrak
      @Juymunrak Год назад +1

      คิดว่าผลิตได้ จะให้ประชาชนใช้ฟรีเหรอ?
      พอผ่านระบบบริษัทนายทุนราคาก็ไม่ต่างกัน

    • @Story-px9ej
      @Story-px9ej Год назад

      @@user-ye6pl9xz6j ขออนุญาตเสีิมให้นะครับ ตามที่พี่ท่านนี้บอกเป๊ะเลย ตัวอย่างเช่น ดูไบ ซาอุ ฯ เขาก็ตื่นตัวสร้างแหล่งเงินใหม่กันมาสักพักแล้ว.
      ตึกที่สูงที่สุดในโลกสร้างขึ้นมาเพื่ออะไร...
      รึชัดสุดคือเมืองกลางทะเลทรายที่กำลังริเริ่มสร้าง เขาทำเพื่ออะไร
      เขารู้ตัวก่อนเราอีก ว่าอนาคตมันต้องหมด เขาวางแผนไว้หมดแล้ว.

    • @user-rh3on2ol4s
      @user-rh3on2ol4s Год назад +1

      ดีมากครับ,เลิกใช้น้ำมันเลย

  • @xnowlsxeinls1190
    @xnowlsxeinls1190 Год назад +1

    สำเร็จเมื่อไร น้ำมัน ตายคาที่ รถยนต์ไฟฟ้า จะ เติบโต

  • @nirapongpansai2792
    @nirapongpansai2792 Год назад +1

    ถ้าโรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ ใช้เตาปฏิกรฟิวชั่น จะใช้เชื้อเพลิงดิวทอเรียมเพียงแค่วันละ 1 กิโลกรัมเท่านั้น

  • @Omega1Plus
    @Omega1Plus Год назад +1

    ถ้าทำได้จริง เราก็แห่ไปซื้อเค้าใช้อยู่ดีนั่นละ เพราะเหล่ามหาอำนาจไม่อยากให้มีประเทศที่ถือครองนิวเคลียร์เพิ่มขึ้นนักหรอก แถมถ้าใช้พลังงานแบบเดิมอาจจะถูกต่อต้านอีกต่างหาก.

    • @WorawatSoipradit
      @WorawatSoipradit Год назад

      ถ้าไม่ใช้ทำเป็นอาวุธก็ไม่มีการต่อต้านหรอก

    • @ttoikobnt1669
      @ttoikobnt1669 Год назад

      ยิ่งไปเข้ากับจีนเข้ากับรัสเซียแบบที่รัฐบาลของกะลาแลนด์ทำ ยิ่งไม่ได้ร่วมใช้พลังงานนี้ไปใหญ่ เผลอๆถูกยัดเยียดข้อหามีความอันตรายต่อการถือครองเทคโนโลยีชั้นสูงเพื่อนำไปใช้อาวุธตามชาติที่ตัวเองเข้าข้างแบบจีนแบบรัสเซีย จะยิ่งหมดโอกาสไปเลย โดนคว่ำบาตรอีกต่างหาก ถือครองไม่ได้แต่ว่ามีสิทธิ์มีส่วนในการร่วมใช้ได้บ้างก็ยังดี

  • @pramarnw1
    @pramarnw1 Год назад +2

    ได้พลังงานมากกว่า พลังงานที่ใข้ไป หมายถึง กฎ thermodynamics กำลังจะถูกทำลายหรือ?

    • @ballt.4988
      @ballt.4988 Год назад +13

      ไม่ครับ มวลจะหายไปเล็กน้อยแทน เหมือนปฏิกิริยาในดวงอาทิตย์ไง

    • @natachanoklp9446
      @natachanoklp9446 Год назад +1

      มวลหาย

    • @opnndzd
      @opnndzd Год назад +2

      E=mc^2 งายยยย

    • @atps2421
      @atps2421 Год назад +4

      พลังงานที่ใช้ไปคือการจุดปฏิกิริยาให้มันเกิดขึ้น ส่วนพลังงานที่ได้กลับมา มันมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ซึ่งเชื้อเพลิงก็คือตัวไฮโดรเจนเอง ไฮโดรเจนเป็นตัวสร้างพลังงานให้ ไม่ใช่พลังงานที่ป้อนเข้าไปเป็นตัวให้พลังงานแก่เรา ต้องแยกแยะให้ได้ก่อนครับ ว่ามันคนละส่วนกัน

    • @reinchans
      @reinchans Год назад

      ไม่ครับนี่ตรงตามทฤษฏี​E = mc^2 เป๊ะๆครับ

  • @Darksidefreedom
    @Darksidefreedom Год назад +1

    หากทำเผาพลาญไม่รู้จบบ ได้บินไปไหนนอกโบกก็ไม่ใช่เรื่องยาก

  • @user-re2uu7nd7n
    @user-re2uu7nd7n 5 месяцев назад

    ต้องส่งนักวิทย์รุ่นยังเจนเนอเรชั่น ครับ ฝึกงานในโรงไฟฟ้าหาประสบการณ์จริงครับ

  • @kares79
    @kares79 Год назад +1

    ❤❤❤

  • @user-xk1mn5ov2s
    @user-xk1mn5ov2s Год назад

    ดังนั้นรถยนต์ไฟฟ้าหรือรถ EV ในอนาคตน่าจะติดตั้งระบบนิวเคลียฟิวชั่นได้

    • @UNDERGROUNDWEED
      @UNDERGROUNDWEED Год назад

      น่าจะได้ยันยานอวกาศ

  • @yahoo.1165
    @yahoo.1165 Год назад

    พลังงานไม่มีที่สิ้นสุดจริงดิ 🇺🇸〰️👍🏼

  • @vista0254
    @vista0254 Год назад +1

    จากที่ฟังมาได้พลังงานความร้อนมากกว่าดวงอาทิตย์100ล้านองศา ที่สงสัยและเอะใจคือพอเวลาสร้างสเกลใหญ่ขึ้นเพื่อทำพลังงานจริงๆภาชนะที่ใส่จะไม่ละลายก่อนหรอ ถ้าทำภายในภาชนะที่ใส่น้ำแบบโรงงานนิวเคลียทั่วไปรึเปล่า

    • @user-tr9bh7td4p
      @user-tr9bh7td4p Год назад

      แขวนลอยไงคับ หรือ อาจใช้วัสดุทนความร้อนสูงแล้วใส่น้ำหล่อเย็นลงไปช่วย

    • @vista0254
      @vista0254 Год назад

      @@user-tr9bh7td4p มานึกๆดูแล้ว ระดับ100ล้านองศาเนี่ยนึกไม่ออกวัสดุที่เอามาใช้ต้องหนาขนาดไหน 😅

    • @user-tr9bh7td4p
      @user-tr9bh7td4p Год назад

      @@vista0254 ถ้าเอาตามหลักโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เขาก็ใช้อลูมิเนียมเป็นตัวจับแท่งยูเรเนียมคับ แต่ใช้น้ำจำนวนมหาศาลไหลผ่านเตา ทำให้ทั้งเตาและ ตัวจับจะไม่ร้อนจนถึงขั้นเหลวไปคับ แต่ถ้าเกิดปัญหาน้ำไม่ไหลผ่าน ความร้อนตัวจับจะสูงจนเกินไป สิ่งที่ตามมาก็จะเหมือนที่ เชอร์โมบิล ระเบิด แกนจะหลอมละลาย ความร้อนโดยรอบจะค่อยเพิ่มขึ้น หลังจากนั้นก็เป็นโกโก้คลัส

    • @omgwth7567
      @omgwth7567 Год назад

      ผิวดวงอาทิตย์แค่ 6,000 องศา
      เซลเซียส พอเย็นสบายๆ 😁🤭
      แต่ใจกลางดวงอาทิตย์ประมาณ 15 ล้านเซลเซียส ที่เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นหลอมรวมไฮโดรเจนพลาสมาเป็นฮีเลี่ยม

    • @BKP9
      @BKP9 Год назад

      ปกติในแลป ตัวกักเก็บกันความร้อนระดับนั้นไม่ได้ครับ แต่มันมีวิธีบังคับการคลื่นที่ของอะตอมให้วิ่งวนโดยไม่สัมผัสกับผนังตัวกักเก็บได้ เพราะงั้นวัสดุอะไรก็แทบไม่จำเป็น

  • @user-gk9vs4rf1n
    @user-gk9vs4rf1n Год назад +1

    ขอให้สำเร็จและใช้งานได้จริง ดูดน้ำมันมาใช้จนโลกกลวงแล้ว

  • @before3594
    @before3594 Год назад +3

    จีนเขาเรียก ดวงอาทิตย์เทียม เพราะมันเป็นแหล่ง พลังงานฟิวชั่น คือพลังงานสะอาดในอน

    • @sanyainsong2427
      @sanyainsong2427 Год назад

      คนระรูปแบบกันครับ555

    • @kuuhaku3503
      @kuuhaku3503 Год назад

      @@sanyainsong2427 บอกแลบนั้นก็ไม่ถูกครับ เพราะวิธีทำจะต่างกันแต่ผลลัพธ์ที่ได้ ก็เหมือนกันทุกประการ เพราะมันใช้หลักเดียวกันในการฟิวชัน

  • @pichairungroj3909
    @pichairungroj3909 Год назад

    JAV เขาคิดได้ตั้งนานแล้ว อยู่ที่ยูเครนเปล่า

  • @Juymunrak
    @Juymunrak Год назад

    ผลิตได้แล้วยังไง พอผ่านนายทุน
    ประชาชนก็จ่ายแพงเหมือนเดิม
    พอๆกับรถไฟฟ้า ค่าซ่อมค่าอะไหล่
    แพง แทบไม่ต่างกับรถใช้น้ำมัน

  • @polo6795
    @polo6795 Год назад

    อภิมหาขอบคุณที่สร้างคลิปความรู้นี้

  • @Jibb524
    @Jibb524 Год назад

    เทคโนโลยีชนิดนี้สามารถกระแสไฟเป็นจำนวนมากพอที่จะผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงสังเคราะห์และสร้างแก๊สไฮโดรเจนจากน้ำได้เลยนะผมจะสนับสนุน

  • @muas2755
    @muas2755 Год назад

    อย่าพึ่งดีใจไป...อาจจะรุ่นเหลนของเหลนเรานู้น ถึงจะได้ใช้ในบ้านเรา5555...

    • @prai-samun
      @prai-samun Год назад +1

      ละการที่เหลนของเหลนเราได้ใช้ไม่ใช่เรื่องที่น่าดีใจเหรอครับ หรือเพราะแบบนี้ มนุษย์ทุกรุ่นที่ผ่านมาจนสมัยนี้ไม่เลยที่จะเคยสนเรื่องภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่ารวดเร็ว เพราะเราอยู่ไม่ทันได้รับความฉิบหายจากน้ำมือตัวเอง ปล่อยให้ความฉิบหายตกไปที่รุ่นเหลนของเหลน

    • @vallopnaboon7953
      @vallopnaboon7953 Год назад

      ที่ Helionenergy จะเดินเครื่อง Polaris ในปี 2024 เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า โรงงานตัวอย่างใช้งานได้จริง ไม่ใช่เครื่องต้นแบบ ส่วน
      เครื่องต้นแบ ไปดูได้ที่ Helionenergy Seattle USA Dr.David Kirtley .

  • @user-qw1jr1ux6p
    @user-qw1jr1ux6p Год назад +1

    หากไทยสร้างไทยโทคาแมค(นิวเคลียร์ฟิวชั่น)...สำเร็จ....ลาวผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานจากน้ำ.ไม่ถูกใจสิ่งนี้ครับ

  • @AunWa
    @AunWa Год назад +5

    อันนี้ต่างจากเทคโนโลยีดวงอาทิตย์เทียมไหมครับ

    • @followRaiden
      @followRaiden Год назад +9

      มันคือดวงอาทิตย์เทียมทั้งคู่ครับ แต่วิธีแตกต่างกัน อันนี้คือ inertia confinement อีกอันคือ magnetic confinement.
      inertia confinement เน้นการเกิด reaction ในระยะเวลาเก็บพลังงานอันสั้น และในความหนาแน่นสูง แต่ magnetic confinement เน้นการ กักเก็บพลังงาน ในระยะยาว แต่ความหนาแน่นต่ำ

    • @AunWa
      @AunWa Год назад +1

      @@followRaiden ขอบคุณครับผม

    • @ttoikobnt1669
      @ttoikobnt1669 Год назад

      ของจีนมันเน้นโชว์ แค่สร้างภาพประเดี๋ยวประด๋าวแล้วก็ดับไป เอามาใช้งานจริงไม่ได้ ขืนไม่ทำให้ดับในระยะอันรวดเร็ว บริเวณรอบๆหลอมละลายกลายเป็นไอหมดแน่ แต่ของอเมริกาเน้นใช้งานได้จริงถึงแม้ตอนนี้กำลังอยู่ในการพัฒนาแต่ก็ก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ สกินด้านอัจฉริยะมันต่างกันระหว่างเจ็กกับฝรั่ง

    • @aupaup6035
      @aupaup6035 Год назад

      @@AunWa ไม่ต่างกันครับมันคือตัวเดียวกันและปีหน้าไทยเราก็จะมีใช้ต้นปีหน้าจีนเป็นคนมอบให้กับพระเทพ

    • @Juymunrak
      @Juymunrak Год назад +1

      ไฟฟ้าจะผลิตจากอะไร ประชาชนก็ต้องซื้อเหมือนเดิม กำไรจะอยู่ที่บริษัทนายทุน

  • @marisa4562
    @marisa4562 Год назад

    สมควรหมดอยู่หรอก เพราะว่าใช้เยอะเกิน , or อย่าลืมว่า ทางไหน create new technology มากกว่ากัน , for example โควิด วัคซีน 😅

  • @gunshop1078
    @gunshop1078 Год назад

    มีเตาปฏิกรณ์ระดับนี้เราจะสร้างอาวุธลำแสงได้ไหม

  • @sjchitangmae899
    @sjchitangmae899 Год назад

    ระเบิดนิวเคลียร์ เป็นพลังงานนิวเคลียร์ประเภทไหนครับ ระหว่าง ฟิวชั่นกับฟิชชั่น

    • @omgwth7567
      @omgwth7567 Год назад

      ฟิชชั่น แตกอะตอม ให้พลังงาน

    • @xnowlsxeinls1190
      @xnowlsxeinls1190 Год назад

      ฟิชชั่น ครับ

    • @followRaiden
      @followRaiden Год назад +2

      ทั้งสองแบบครับ ถ้าแบบ ระเบิดปรกติ ที่เคยใช้ในสงครามโลก จะเป็น fission แต่ ถ้าhydrogen bomb จะเป็นทั้งสองแบบ คือเอาพลังงานที่ได้จาก fission มา trigger fusion อีกที

    • @followRaiden
      @followRaiden Год назад

      @@mka7516 น่าจะเข้าใจผิดนะครับ ฟัวชั่นที่ทำในเตา tokamak, stellarator หรือ magnetic confinement fusion อื่นๆ นั้นหยุดง่ายมาก เพราะมันต้อง operate ใน near vacuum condition แปลว่าถ้าเกิดการรั่วของผนังเตา density ก็จะเพิ่มทำให้ temp ตกและพลาสม่าดับ
      ส่วนของ inertia confinement fusion มันเป็น pulse processอยู่แล้ว มันไม่ได้ต่อเนื่อง
      ไอ้ที่หยุดยากคือ fission ที่ถ้าระบบหล่อเย็นหรือ control rod พัง มันก็หยุดไม่อยู่และระเบิดได้
      ส่วนระเบิดhydrogen มันต่างกันมาก เพราะระเบิดไฮโดรเจนคือการเอา nuclear fission reaction มาทำให้เกิด nuclear fusion reaction อีกที ที่มันระเบิดได้เพราะเราเร่งให้มันเกิด reaction จำนวนมหาศาลในระยะเวลาสั้นๆ

    • @followRaiden
      @followRaiden Год назад

      ​@@mka7516 อย่างแรกก่อนจะไล่คนอื่นไปดูหนังหรืออะไร
      คำตอบของคุณ "ปัญหาหลัก ฟิวชั่น คือ หยุดปฎิกิริยาไม่ได้ มันจะกลายเป็นระเบิด ไฮโดรเจน ดีๆนั่นแหล่ะ หรือไม่โลกก็จะกลายเป็นดวงอาทิตย์ดวงที่สอง ...หนัง สไปเดอร์แมน ภาค ออตตาพุต คือตัวอย่าง" กับ "ใช้อะไรเป็นตัวแล้วแต่ไม่เกี่ยว ต้องแยกคำว่า ปฎิกิริยา สารตั้งต้น "
      แค่นี้ก็บอกแล้วว่าคุณยังมีความเข้าใจที่ผิดๆอยู่
      การที่ระบบจะอยู่ในสถาณะ self-sustain reaction มันจะต้องมีหลายปัจจัย และมันขึ้น มันเกี่ยวกับทั้งสารตั้งต้น วิธีการกักเก็บ ผมจะยกตัวอย่างให้ดังนี้
      1) Magnetic Confinement Fusion: เช่น tokamak, stellrator, reversed field pinch, and etc.
      ตอนนี้เขาใช้เชื้อเพลิงเป็น deuterium & Tritium เพราะ มี cross section สูง ที่temp ต่ำเมื่อเทียบกับตัวอื่นๆ การที่มันจะเกิด fusion reaction ได้มากพอที่จะทำให้เกิดการself sustain เขาต้องทำให้ สามปัจจัยนี้สูงมากพอ i) ion temperature, ii) plasma density, and iii) confinement time
      ในเครื่องประเภท tokamak เขาเน้นเร่ง temperatureให้สูงมากกว่าdensity เพราะ density จะไม่สามารถเพิ่มไปได้เพราะมันจะมี limit ที่เรียกว่า greenwald density limit อยู่โดยรวมแล้ว pressure which is propotional to density and temp. ก็ยังต่ำกว่าความดันบรรยกาศอยู่ดี แปลว่าอะไรถ้าเตารั่ว temp ก็จะตก ทำให้ reaction ไม่ sustain ต่อไป ส่วนเรื่อง confinement time เขาพยายามทำให้มันยาวที่สุด แต่ในเตาเครื่อง มี instability ต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็น magnetohydrodynamics instabilities (e.g. kink mode, tearing mode, alfven eigenmode). หรือ turbulence ที่จะทำให้ เกิดการเพิ่มของ heat and particle transport ที่ไปทำให้เกิดการลดลงของ temperature and densityอีกที
      แล้วมันจะ sustain ได้ยังไง คำตอบคือ product ของ d-t reaction คือ alpha particle '& neutron
      neutron จะหลุดออกจากสนามแม่เหล็กและไปชนกำแพงเพื่อเอาไป ทำ tritium breeding และปั่นไฟ ส่วน alpha particle นั้นจะยังถูกกักเก็บอยู่ในสนามแม่เหล็กอยู่เพื่อที่จะนำมาใช้ในการ heat ตัวD-T อีกรอบ แปลว่าอะไรอีก ถ้าจะให้ reaction เกิดต่อเนื่อง จะต้องมีการคอยเติม d-T เขามาในระบบ และเมื่อ alpha particle นั้ง thermalized แล้ว เราจะต้องเอามันออกจากระบบไม่เช่นนั้นมันจะสะสมทำให้ densityเพิ่ม (He Ash)
      สรุปคือ ในเตา tokamak มันจะไม่เกิด อะไรแบบในหนัง spiderman ที่คุณยกตัวอย่างมา เพราะถ้า เราไม่สามารถ sustain ตัว plasma condition ได้ ระบบก็จะหยุดทำงาน
      2) ต่อมายกตัวอย่างดวงอาทิตย์บ้าง
      ในดวงอาทิตย์ reaction มัน sustain ได้เพราะ gravity ของ ดวงอาทิตย์มีมากพอ ที่จะ กักเก็บ พลาสม่าปริมาณมหาศาลได้ เวลาที่เกิด fusion reaction outward pressure force จะดันตัวพลาสม่าออกไป แต่เนื่องจากดวงอาทิตย์ มี gravity สูงพอที่จะดึงกลับมา ทำให้เราสามารถกักเก็บพลาสม่าไว้สำหรับทำ nuclear fusion reaction ต่อได้ ต่อมากลับมาที่สามปัจจัย ดวงอาทิตย์นั้น i) temp ไม่ต้องสูงมาก (1.5*10^6 K) เพราะ ii) density ในพลาสม่าในดวงอาทิตย์ที่หนาแน่นกว่า พลาสม่าใน tokamak (1.00*10^8 K) iii) confinement timeก็สูงกว่า เพราะขนาดของ system
      ที่กล่าวมาข้างต้นผมยังไม่นับเรื่องที่ว่าที่สารตั้งต้นเปลี่ยน เพราะอย่างในดวงอาทิตย์ reaction ไม่ได้จำกัดแค่ D-T
      หรือสรุปคือการที่จะเกิดจนคุมไม่ได้นั้น เราจะต้องรักษา condition ให้ได้ตลอด
      ถ้าคุณสนใจจะเรียนรู้ด้านนี้หรือคิดว่าผมมีอะไรที่เข้าใจผิดสามารถพูดคุยกันได้ ถ้าคุณอยากได้เปเปอร์หรือแหล่งข้อมูลเพิ่มเติ่มก็ติดต่อมาได้นะครับ

  • @club1199
    @club1199 Год назад

    พลังงานที่ไม่ขึ้นภาษีใดๆนั่นคือความสำเร็จที่แท้จริง

  • @user-qf4ex5rr2f
    @user-qf4ex5rr2f Год назад

    แบบนี้ก็เดินทางในจักวารใด้เรยล่ะสิ

  • @sttp4153
    @sttp4153 Год назад

    ไทยชอบตามไม่ได้สร้างนักวิทย์ค้นคว้า

  • @KunPorKunMea
    @KunPorKunMea Год назад +1

    ผมงงตรงที่ว่า ทำไมเราต้องทำให้ไฮโดรเจนร้อนจนมันวิ่งชนกันเองครับ ทำไมเราไม่ยิงอนุภาคอัดกันไปเลย เร่งความเร็วให้มันและควบคุมทิศทางให้มันชนกัน

    • @prai-samun
      @prai-samun Год назад

      พลังงานที่ใช้เร่งอะตอมให้เร็วเข้าใกล้แสงมันเยอะกว่ามากเมื่อเทียบกับพลังงานทีีได้จากการชนกันของอะตอม และเครื่องที่เขาวางใต้ดิน มันกินพื้นที่ครอบคลุมเมืองเล็กๆเลย ไม่ใช่เครื่องเล็กๆ

    • @walkafterworkwaw7641
      @walkafterworkwaw7641 Год назад

      มันเบาที่สุดครับ และมันออกแรงขว้างง่ายสุด

  • @TheBoEoSoT
    @TheBoEoSoT Год назад

    งั้นก็แปลว่า ที่ของจีนหรือยุโรปกำลังทำอยู่มันก็ยังผลิตไฟได้มากกว่าที่ป้อนหรอ

    • @natachanoklp9446
      @natachanoklp9446 Год назад +6

      ตอนนี้ของจีนกับยุโรปผลิตพลังงานได้น้อยกว่าที่ป้อนเข้าไป แต่ฝั่งนั้นใช้คนล่ะเทคนิคโดยสิ้นเชิงเลย

    • @misterxxxman
      @misterxxxman Год назад

      ตอนนี้จีนก้าวหน้าสุด แต่ของไทยเราแพลนไว้ที่ 10 ล้านองศาควบคุมปฏิกิริยาฟิวชั่นให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง

    • @kuuhaku3503
      @kuuhaku3503 Год назад

      ใช่ครับ แต่อย่าไปสับสนคำพลังงานที่เพิ่มขึ้นมาจาก E=mc² ไม่ผิดกฎฟิสิกส์

    • @walkafterworkwaw7641
      @walkafterworkwaw7641 Год назад

      จะว่างั้นก็ได้ ครับ เพราะตอนที่จักวาลไม่มีอะไร อยู่ๆ ไม้ขีดก็พุดขึ้นมาได้ยังไงก็ไม่รู้ เราแค่ ออกแรงจุดมันเล็กน้อย เพื่อให้มันติด ก็แค่นั้นเองครับ

  • @Kefp_mimi
    @Kefp_mimi Год назад +17

    ขณะที่ทั่วโลกกำลังเจอปัญหาสร้างพลังงานได้น้อยกว่าพลังงานตั้งต้น แต่สหรัฐมาเหนือเมฆมาก กลับกันเลย ใช้วิธีแบบใหม่แห่กตำรา ได้พลังงานมากกว่าพลังงานตั้งต้นถึง 1,575,000 เท่า!! และนี่ยังแค่เริ่มแรก ยังเหลือให้ต่อยอดอีกไกลมาก ฝรั่งการศึกษาเค้าสอนให้คิดนอกกรอบ เอาชนะตำรา ไม่ใช่กราบไหว้ตำรา จะต่างจากการศึกษาโซนเอเชียส่วนใหญ่ที่เน้นท่องตำราตามตัวหนังสือ แล้วบอกตัวเองจำทฤษฎีแม่น ถึงแม้ว่ามันจะผิดก็ตาม 🤣
    สังเกตุโซนเอเชียเกรดเฉลี่ยดี แต่คนที่ประสบความสำเร็จส่วนมากเป็นคนตะวันตกซะมากกว่า แล้วคนเอเชียก็เอาเกรดเฉลี่ยไปยื่นสมัครงานเป็นลูกน้องฝรั่ง ตะวันตกคือคนเขียนและสร้างตำรา=สร้างทุกอย่างจาก0 ปั้นทองจากทราย ในขณะที่คนเอเชียเป็นผู้อ่านตำรา=ผู้ตามตลอดกาลป์ เกรดเฉลี่ยเอาไว้ขิงคุณป้าข้างบ้านแค่นั้น ช่างต่างกัน

    • @user-rx1xf4wo9c
      @user-rx1xf4wo9c Год назад +2

      เอเซียตามหลังอเมริกายุโรปตลอดกาลและจะเป็นแบบนี้อีกนานถ้ายังใช้ความคิดเดิมๆ

    • @k-wwmkt5850
      @k-wwmkt5850 Год назад +4

      คนไทยหลายคน สายจีน ยังเพ้อฝันคิดว่าจีนจะครองโลก จีนหรือเอเชียเต็มที่ได้แค่ก๊อป

    • @madidami353
      @madidami353 Год назад +1

      สิ่งที่คนยุโรปหรือเมกามี คือบ้าระห่ำที่อยากจะทำโดยไม่สนใจชีวิตแม้กระทั้งตัวเอง ยุคเริ่มคิดค้นเครื่องบิน มนุษย์ปรกติใครจะกล้าขึ้นไปทดลองบินละ เครื่องตกมานี่ตุยเย่ กว่าจะสำเร็จในยุคตระกุลไรท์ ไม่รู้มีคนพลาดไปแล้วกี่คน

    • @natachanoklp9446
      @natachanoklp9446 Год назад

      @@user-rx1xf4wo9c คนอื่นใช้แม่เหล็ก ลูกพี่ใช้เลเซอร์

    • @pichsuge
      @pichsuge Год назад

      @@natachanoklp9446 น่าจะได้ไอเดียจากไอรอนแมนหรือเปล่า ภาคล่าสุดโทนีก็ใช้เลเซอร์จี้เข้าไป จากหนังสู่ความเป็นจริง

  • @sirichaichannim9263
    @sirichaichannim9263 Год назад

    นายยิ่งอธิบายยิ่งงงง ลองไปศึกษาดีๆแล้วมาอธิบายอีกที

  • @sssdff
    @sssdff Год назад

    เมกะจูนมันมากน้อยเท่าไหร่เหรอครับ

  • @katom1050
    @katom1050 Год назад

    เตา ปฎิกรณ์ โทคาแมค

  • @droidntdroidnt8463
    @droidntdroidnt8463 Год назад

    รอบนี้เหมือนผู้บรรยายติดๆเหมือน...ไม่ถนัด

  • @pichairungroj3909
    @pichairungroj3909 Год назад

    ช้าจัง

  • @BingLi224
    @BingLi224 Год назад

    มาไม่ถึงเมืองไทยง่ายๆ เพราะการผูกขาดในประเทศ

    • @user-ye6pl9xz6j
      @user-ye6pl9xz6j Год назад +1

      ตลกครับ
      ตามหลักทุนนิยมแล้ว ผมว่ามันจะมาถึงง่ายอ่ะสิ เพราะพอมีเทคโนโลยีใหม่ๆราคาแพงเข้ามา คนที่โอกาศเข้าถึงหรือนำมาปรับใช้99%จะเป็นคนรวยเท่านั้น
      แต่คนรวยก็มองเห็นโอกาศการทำเงินจากเรื่องพวกนี้เลยทำให้เริ่มลงทุนครับ ซึ้งถ้าอ้างอิงจากการที่คุณพูดเกี่ยวกับเรื่องผูกขาด แปลว่า
      คนรวยจะยิ่งมีอำนาจการซื้อและธุรกิจมากขึ้นใช่ไหม? แปลว่าการนำถ่ายโอนเทคโนโลยีก็จะยิ่งไวขึ้นไง

    • @BingLi224
      @BingLi224 Год назад

      @@user-ye6pl9xz6j @I อะไร​จะ​เข้า​มา​ใน​ประเทศ​ได้​ อยุ่​ที่​คน​ที่​มี​อำนาจ​ ดู​จาก​ Sino* vs Pfizer/Moderna ครับ
      เรื่อง​นี้​ก็​ทุนนิยม​นั่นแหละ​ ผม​ก็​คิด​ตั้งแต่​มี​เรื่อง​รถที่​ใช้​​ไฟฟ้า​ เพราะ​มี​ผล​กับ​กระทบ​กับ​ PT*​ แน่​ๆ​ ก็​น่าสังเกต​กับ​เครือ​นั้น​แหละ​ tech ใหม่​นี่​ก็​เหมือน​กัน

    • @walkafterworkwaw7641
      @walkafterworkwaw7641 Год назад

      ถ้าไม่มีนายทุนสิจะแย่ครับ

  • @user-qu2hc3su5j
    @user-qu2hc3su5j Год назад

    ทำครั้งเดียวส่งฟรีตลอดชีพ

  • @user-ms3fp8vr7n
    @user-ms3fp8vr7n Год назад +1

    ฟิวชั่นบนโลกทำไม่ได้หรอกค่ะ

    • @anhklanjungjai6621
      @anhklanjungjai6621 Год назад +2

      นี่สิคนไทย ของจริง เอ่ อ่ะ บอกทำไม่ได้ไว้ก่อน 555 ขอชื่นชมครับ

    • @nevannathanll7672
      @nevannathanll7672 Год назад +2

      ทำได้ครับ สหรัฐอเมริกาไง ทำได้สำเร็จชาติแรก

    • @user-hq4ys9od8x
      @user-hq4ys9od8x Год назад +1

      ก้อระเบิดไฮโดรเจนไง แต่คำว่าควบคุมใช้ประโยชน์นิยังห่างไกล นะเทอ

    • @Gilgamesh-Channel
      @Gilgamesh-Channel Год назад

      ได้สิครับ ใช้สนามแม่เหล็กคุมไว้ครับ

    • @vista0254
      @vista0254 Год назад

      ทำได้สิ เพราะเขาไม่ใช่คนไทยไง 🤣

  • @sttp4153
    @sttp4153 Год назад

    หลุมดำกลัว

  • @thanakitmeetara8331
    @thanakitmeetara8331 Год назад +3

    จีนทำได้ก่อนปะ แต่ช่างแม่ง ใครทำได้ดีกว่า ไห้ประโยชน์​กับมวลมนุษย์​ชาติ​ได้มากก่าก็ โอเคละ

    • @tu9643
      @tu9643 Год назад

      จีนก็ไปซื้อข้อมูลมาจากเมกา หรือแฮ็กมาทั้งนั้นครับ

    • @reinchans
      @reinchans Год назад

      จีนตามหลังตะวันตกอีกเป็น 10กว่สปีครับ มีแต่สื่อแถวๆนี้นี่ล่ะที่อวยว่าจีนทำได้ก่อนชาวบ้าน

    • @superhotclips6648
      @superhotclips6648 Год назад +1

      จีนผลิตได้มาปีกว่าเกือบ2ปีครับ ส่วนอเมริกาเพิ่งผลิตได้ไม่นานนี้เอง

    • @nirapunputthajaroan5994
      @nirapunputthajaroan5994 Год назад

      มันสำคัญตรงใช้พลังงานตอนจุดระเบิด ที่ผ่านมา เข้ามากกว่าออก อันนี้ออกมากกว่าเข้า ได้เป็นคนแรก ... มันสำคัญตรงนี้
      ส่วนจุดระเบิด แม้ฟรังเศสก็ทำได้ครับ ... แต่ใช้วิธีพลังแม่เหล็กแรงสูง

    • @kuuhaku3503
      @kuuhaku3503 Год назад

      ไม่ต้องขิงครับ จะประเทศไหนทำช่างหัวแม่ง มันคือพลังงานแห่งอนาคตไม่ว่าใครจะทำก่อนหลังไม่ใช่ประเด็น
      และ ปัจจุบัน ไม่ว่าจีน และ อเมริกา ก็ยังนำมาใช้จริงไม่ได้ รอไปอีกซัก 10 ปี

  • @mannarisamaruekajorn1949
    @mannarisamaruekajorn1949 Год назад +1

    อเมริกาทำมา60กว่ายังทำไม่ได้เลย

    • @nevannathanll7672
      @nevannathanll7672 Год назад

      สหรัฐอเมริกา ทำสำเร็จ เป็นชาติแรก ruclips.net/video/gI4rWcu9LIg/видео.html

    • @mannarisamaruekajorn1949
      @mannarisamaruekajorn1949 Год назад +1

      @@nevannathanll7672 จีนทำสำเร็จก่อน แต่อย่างไงก็ใช้งานยังไม่ได้

    • @nevannathanll7672
      @nevannathanll7672 Год назад

      @@mannarisamaruekajorn1949 สรุป ยังไม่สำเร็จ? ที่ผมกล่าวคือ Nuclear Fusion ในคลิปก็Nuclear Fusion

    • @mercyocean1554
      @mercyocean1554 Год назад +1

      @@mannarisamaruekajorn1949 เอามาจากไหนจีนทำสำเร็จ ที่จีนทำได้ฝรั่งเขาทำสำเร็จมาตั้งนานแล้ว ที่จีนทำได้คือทำการทดลองที่ขยายสเกลที่ฝรั่งทำคือ ทำให้เกิดปฏิกิริยานานขึ้น แต่นั่นก็ไม่ใช่ว่าสำเร็จครับ เพราะสิ่งที่เป็นความก้าวหน้ามันคือตรงที่ สหรัฐ ทำครั้งนี้ต่างหาก คือ ใส่พลังงานตั้งต้นไปน้อยกว่าพลังที่ได้รับ ซึ่งอันนี้แหละไม่มีใครทำได้ และมันคือความก้าวหน้าที่แท้จริง เพราะแค่จุดพลาสม่าร้อนที่ทาง จีน เรียกดวงอาทิตย์เทียมทำให้คนตื่นเต้น แบบนั้นเขาทำกันมาเป็นสิบปีแล้วครับ

    • @mannarisamaruekajorn1949
      @mannarisamaruekajorn1949 Год назад

      @@mercyocean1554 เพราะตอนนี้ยังมาใช้เป็นพลังงานจริงๆ ตอนนี้ต้องมาดูว่าใครนำมาใช้จริงได้ก่อนกัน

  • @suwitekkawat6607
    @suwitekkawat6607 Год назад +1

    อเมริกันแคนดู ไทยแลนด์แคนยูส 😈👉😁😁😁😁

  • @mannarisamaruekajorn1949
    @mannarisamaruekajorn1949 Год назад

    จีนทำดวงอาทิตย์เทียมได้ก่อนแล้ว

    • @tuck295q
      @tuck295q Год назад

      ยัง เอามาจากไหน

    • @dogcy9039
      @dogcy9039 Год назад

      เหมือนวิธีนี้ไหม

    • @GllGermany
      @GllGermany Год назад

      สลิ่ม

    • @user-hq4ys9od8x
      @user-hq4ys9od8x Год назад

      ไอ้กันทดสอบเมื่อหลายสิบปีที่แล้ว แต่มันควบคุมมิได้ เหมือนไฮเปอโชนิคไอ้กันทดสอบหลายสิบปีที่แล้ว แต่ทำไมคนจำนวนหนึ่งถึงอวยเจ็กที่ทำตามทีหลังจัง

    • @mannarisamaruekajorn1949
      @mannarisamaruekajorn1949 Год назад +1

      @@user-hq4ys9od8x อย่าอคติ ใครทำได้ก็คืทำได้ ทำไม่ได้ก็ไม่ได้ ใครเริ่มก่อนไม่สำคัญ ที่สำคัญใครนำมาใช่งานได้ จรวดไฮเปอร์โซนิค ใครใช่งานได้จรืง เทตโนโลยี่ มั้นเรียนทันกัน รถไฟความเร็วสูง ตะวันตกอพ้จีนแล้ว

  • @nutbee59
    @nutbee59 Год назад +3

    เด็กๆสมัยนี้ไม่สนใจวิทย์หรอก สนใจแต่ร้องเพลง เต้นๆ โซเชียล เพราะมันได้เงิน โด่งดัง ดีกว่า เด็กไทยเลยรักการเรียนน้อยลงไปเรื่อยๆ ไทยเราควรเลิกบ้า ดารา นักร้อง ได้แล้ว แล้วหันมาให้ราคา เครดิต นักวิทย์ไทย ได้แล้ว

    • @beeruschannel3454
      @beeruschannel3454 Год назад

      ผมก็เด็กยุคใหม่ แต่ก็ยอมรับว่า จริงที่เด็กสมัยนี้สนแต่ เต้นโซเชียล แต่นั่นแค่ส่วนมากครับ ส่วนน้อยก็มีสนใจบ้าง อยากให้ เอกชนส่งเสริมวิทยาศาสตร์จัง วันๆเห็นแต่ พวกดูดวง ไหว้ต้นไม้ ไหว้ปูน