"แอโรว์ไดนามิก" ทำไมถึงมีผลกับระยะทางวิ่งรถ EV!? ทั้งหน้าตา กระจังหน้า ล้อทึบ Aerodynamic for EV

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 25 окт 2024

Комментарии • 21

  • @Fruitloopsua
    @Fruitloopsua Год назад +3

    ลมสำคัญมาก ผมปั่นจักรยานนี่เข้าใจเลยครับ

  • @therookie2231
    @therookie2231 Год назад +6

    เอาจริงๆไม่ใช่นะครับ..... เกี่ยวกับค่า CD ต้องบอกว่า รถน้ำมันถ้าหากจะทำให้ประหยัดแต่ไม่สามารถทำรูปร่างได้เหมือนกันรถไฟฟ้าได้ต่างหากครับ...เช่นถ้ารถน้ำมันลดการต้านลมได้ทำไมไม่ก๊อปแบบรถไฟฟ้าไปใช้กับรถน้ำมันเพื่อการประหยัดและวิ่งได้ไกลขึ้นดีขึ้น....... เพราะมันทำไม่ได้ไง
    1. กระจังหน้ารถน้ำมันไม่สามารถปิดได้ เพราะต้องการอากาศไประบายความร้อนและใช้เพื่อจุดระเบิด ซึ่งได้อธิบายไปแล้ว...
    2. ทำไมรถน้ำมันไม่สามารถออกแบบใช้ล้อแม็คแบบปิดทึบได้อย่างรถไฟฟ้าในเมื่อมันก็ลดค่า CD และทำให้ประหยัดน้ำมัน???
    อันนี้คือเอกลักษณ์ที่ทำได้เฉพาะรถไฟฟ้าไงครับคือ "มันไม่ต้องการอากาศไปลดความร้อนจานเบรค" เอาจริงๆรถไฟฟ้าแทบจะไม่ใช้เบรคเลยก็ว่าได้ใครขับรถไฟฟ้าจะเข้าใจดีว่าการขับรถไฟฟ้าแทบจะไม่ได้เหยียบเบรคเพราะเราจะอาศัยการรีเจนเพื่อชะลอความเร็วแทน...ดังนั้นจานเบรคก็จึงไม่ร้อนเลยแม้กระทั่งขับรถลงเขายังแทบจะไม่ได้เหยียบเบรคเลย...จะเหยียบเบรคเอาจริงๆก็แค่ตอนติดไฟแดง....กับตอนจอดสนิท
    เอาจริงๆ รถไฟฟ้าคือรูปลักษณ์ในอุดมคติของรถน้ำมันที่อยากจะทำ....แต่ทำไม่ได้ครับ
    จริงๆอีกตัวเลยก็คือ กระจกมองข้าง...ถ้าสามารถใช้กล้องเล็กๆติดไว้แทน แล้วใช้จอมองจากในรถก็น่าจะลดค่า CD ลงไปได้อีกพอสมควร

    • @kolawta
      @kolawta Год назад +3

      เห็นด้วย รถทุกคันก็อยากจะลู่ลม แต่รถน้ำมันทำไม่ได้

  • @dooyouseeyou
    @dooyouseeyou Год назад +1

    ข้อมูลดี น่าฟังครับ

  • @bozzalnw5357
    @bozzalnw5357 Год назад +6

    เป็นเหตุผลที่ว่าทำไมต้องมียางรถยนต์สำหรับรถไฟฟ้าโดยเฉพาะ เพราะจะเป็นยางที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดท้านอากาศต่ำมากๆ เพราะรถไฟฟ้าเป็นรถที่มีประสิทธิภาพสูงมากๆในด้านพลังงาน การที่มีแรงต้านอะไรนิดๆหน่อยๆก็มีผลต่อระยะทางที่ทำได้แบบมีนัยสำคัญ ไม่เหมือนรถน้ำมันที่วัฏจักรกำลังแก๊สของเครื่องยนต์สันดาปมันไม่มีประสิทธิภาพอยู่แล้ว ยางจะใช้เป็นอะไรเลยไม่ได้เกิดผลแบบมีนัยสำคัญมากนักเมื่อเทียบกับรถไฟฟ้า ประโยคนี้ผมไม่ได้กล่าวเอง อันนี้จากปากวิศวกรตัวเทพของเมกา ของช่อง Engineering Explained มาไขข้อสงสัยยางสำหรับรถไฟฟ้าสำคัญอย่างไร
    รถน้ำมันความหนาแน่นพลังงานน้ำมันก็เปรียบเหมือนคุณมีเงิน 1,000 บาท ถ้าคุณมีนิสัยใช้เงินไม่มีประสิทธิภาพสุรุ่ยสุร่ายอยู่แล้ว ทำเงินหาย 20 บาท ไปกับแรงเสียดทานลมที่ล้อ คงไม่สะท้าน เพราะสุรุ่ยสุร่ายอยู่แล้ว แถมแหล่งพลังงานคุณมีตั้ง 1,000 บาท ความหนาแน่นพลังงานให้ใช้ให้เปลืองได้เยอะเต็มที่
    แต่รถไฟฟ้าพลังงานในแบตเหมือนคุณมีเงิน 100 บาท เพราะความหนาแน่นพลังงานที่ต่ำกว่าน้ำมันมาก แต่มีนิสัยใช้ประหยัดมีประสิทธิภาพอยู่แล้ว ทำเงินหาย 20 บาทไปกับแรงเสียดทานลมที่ล้อเพราะใช้ยางแบบรถน้ำมัน มันก็สะท้านไง นี่คือเหตุผลที่ยางสำหรับรถไฟฟ้าจึงสำคัญ มันช่วยลดจากทำเงินหาย 20 บาท อาจเหลือ 10 บาท

  • @choo3769
    @choo3769 Год назад

    ความต้านทานของอากาศจะเพิ่มขึ้นเป็นกำลังสองของความเร็ว นั่นคือยิ่งวิ่งเร็วก็จะมีความต้านทานของอากาศสูงขึ้นและใช้พลังงานสูงขึ้นตาม

  • @Colonelly
    @Colonelly Год назад +4

    ขอเสริมนิดนึงครับ ปีกเครื่องบินลมที่ผ่านปีกด้านบนวิ่งเร็วกว่าด้านล่างครับ เลยทำให้แรงดันด้านล่างเยอะกว่า ยกตัวปีกขึ้นครับ ด้วยรัก❤

    • @gwinsgu
      @gwinsgu Год назад

      ใช่เลยครับ การออกแบบจะต้องตรงกันข้ามกับปีกเครื่องบิน เพื่อให้รถกดบนพื้นถนนเพื่อความเกาะถนนที่สุด

  • @nyhoytaraloom
    @nyhoytaraloom Год назад

    ติดตาม​ครับ​

  • @Wisuth888
    @Wisuth888 Год назад

    มีของGAC ion hypercar gtที่ค่าCdเพียง0.19
    ดีกว่า Lucid air

  • @pramoch.n
    @pramoch.n Год назад

    เนื้อหาดีครับ

  • @ake8may83
    @ake8may83 Год назад

    แฝสอบถามครับ กรณี รถติดๆ แบบใน กทม ติดแบบ กระดึ๊บๆ ค่า CD มีผล มากน้อยแค่ไหนครับ

  • @yamineko2081
    @yamineko2081 Год назад

    นึกถึง 9arm บ่นเรื่องออฟชั่นล้อของเทสล่า
    จ่ายเพิ่มเพื่อทำให้รถกินแบตขึ้น แต่ได้ความสวย 😂

  • @sakkarachairuengmanussutth9979
    @sakkarachairuengmanussutth9979 Год назад +1

    คุณเวลน่าจะเอาค่า CD รถน้ำมันทั่วไปมาเปรียบเทียบด้วยครับ จะได้เห็นภาพว่าต่างกันขนาดไหนกับรถ EV

    • @Wisuth888
      @Wisuth888 Год назад

      โดยรวมรถแรงๆ จะราว0.2-0.3ขึ้นครับ

  • @creatua3744
    @creatua3744 Год назад +1

    ต้องบาลานซ์กันให้ดีระหว่าง การแหวกลม กับ แรงกด ..
    เพราะถ้าการแหวกลมด้านหน้าดีเกินไป รถอาจจะเหิน หน้าลอยได้ .. ในขณะที่ถ้าแรงกดด้านหน้าดีเกินไป มันก็จะถ่วงรถ ทำให้เราใช้พลังงานมากขึ้นอีกในการวิ่ง 😀

  • @SiraMemory
    @SiraMemory Год назад

    คอยต่อชิ้นส่วนรอบๆ ตัวรถยังมีผล

  • @the1stoftime
    @the1stoftime Год назад

    มาแล้วว

  • @trongwick174
    @trongwick174 Год назад

    ผมเพิ่งเห็นข่าวช่วงสงกรานต์นี้ รถน้ำมันเกิดอุบัติเหตุ เเล้วติดไฟ คนข้างในรถไฟคลอกเสียชีวิต
    เลยอยากถามพี่ๆเพิ่มเติมว่า EV ถ้าเกิดเหตุการณ์แบบเดียวกัน มันจะเกิดไฟรุกไหม้ ไหมครับ

  • @สุทธิพงษ์ณพัทลุง

    รูปทรงที่แหวกอากาศดีสุด คืออะไร ลองเอาน้ำ หยดผ่านอากาศดู น้ำเป็นรูปทรงอะไร รูปทรงน้ำแหละ แหวกดีที่สุด "หยดน้ำ" จะคล้ายหยดน้ำหมด หัวรถไฟเร็วๆ *บอกท่านผู้ชมน่ะห๊ะ*

  • @tanapol3s
    @tanapol3s Год назад +1

    ใครซื้อรถ ev แล้วเปลี่ยนล้อเสียใจด้วยนะครับ