Amorn PIMANMAS
Amorn PIMANMAS
  • Видео 325
  • Просмотров 1 387 388

Видео

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 3 ตอนย่อย 3.1
Просмотров 1897 часов назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 3 ตอนย่อย 3.1
การออกแบบคอนกรีตอัดแรงตอนที่ 1
Просмотров 32914 часов назад
การออกแบบคอนกรีตอัดแรงตอนที่ 1
การคำนวณแรงแผ่นดินไหวด้วยวิธีแรงสถิตเทียบเท่าตอน 1/2
Просмотров 134День назад
การคำนวณแรงแผ่นดินไหวด้วยวิธีแรงสถิตเทียบเท่าตอน 1/2
หลักการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว ตอนที่ 1
Просмотров 48814 дней назад
หลักการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว ตอนที่ 1
หลักการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว ตอนที่ 2
Просмотров 24314 дней назад
หลักการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว ตอนที่ 2
การคำนวณแรงแผ่นดินไหววิธีแรงสถิตพื้นที่แอ่ง กทม. ตอน 2/2
Просмотров 18921 день назад
การคำนวณแรงแผ่นดินไหววิธีแรงสถิตพื้นที่แอ่ง กทม. ตอน 2/2
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 2 ตอนย่อย 2.1
Просмотров 320Месяц назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 2 ตอนย่อย 2.1
การคำนวณแรงแผ่นดินไหววิธีแรงสถิตพื้นที่แอ่ง กทม. ตอน 1/2
Просмотров 268Месяц назад
การคำนวณแรงแผ่นดินไหววิธีแรงสถิตพื้นที่แอ่ง กทม. ตอน 1/2
การออกแบบนั่งร้านตามหลักวิศวกรรม ตอน 1/2
Просмотров 786Месяц назад
การออกแบบนั่งร้านตามหลักวิศวกรรม ตอน 1/2
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 1 ตอนย่อย 1.2
Просмотров 378Месяц назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 1 ตอนย่อย 1.2
การออกแบบหน้าตัด ค.ส.ล. รับแรงบิด ตอน 2/2
Просмотров 204Месяц назад
การออกแบบหน้าตัด ค.ส.ล. รับแรงบิด ตอน 2/2
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 1 ตอนย่อย 1.1
Просмотров 532Месяц назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการออกแบบโครงสร้าง ตอน 1 ตอนย่อย 1.1
การออกแบบหน้าตัด ค.ส.ล. รับแรงบิด ตอน 1/2
Просмотров 406Месяц назад
การออกแบบหน้าตัด ค.ส.ล. รับแรงบิด ตอน 1/2
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องฐานรากอาคารตอน 2/2
Просмотров 440Месяц назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องฐานรากอาคารตอน 2/2
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องฐานรากอาคารตอน 1/2
Просмотров 6642 месяца назад
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องฐานรากอาคารตอน 1/2
การออกแบบแรงเฉือนคานเสาและ shear wall ต้านแผ่นดินไหวตอน 2/2
Просмотров 4643 месяца назад
การออกแบบแรงเฉือนคานเสาและ shear wall ต้านแผ่นดินไหวตอน 2/2
การใช้งานเหล็กเสริมประเภทต่างๆ ตาม ACI318-19 ตอน 2/2
Просмотров 5544 месяца назад
การใช้งานเหล็กเสริมประเภทต่างๆ ตาม ACI318-19 ตอน 2/2
การออกแบบแรงเฉือนคานเสาและ shear wall ต้านแผ่นดินไหวตอน 1/2
Просмотров 7514 месяца назад
การออกแบบแรงเฉือนคานเสาและ shear wall ต้านแผ่นดินไหวตอน 1/2
ผลกระทบน้ำท่วมต่อโครงสร้างตอน 1/2
Просмотров 3374 месяца назад
ผลกระทบน้ำท่วมต่อโครงสร้างตอน 1/2
การใช้งานเหล็กเสริมประเภทต่างๆ ตาม ACI318-19 ตอน 1/2
Просмотров 1,1 тыс.4 месяца назад
การใช้งานเหล็กเสริมประเภทต่างๆ ตาม ACI318-19 ตอน 1/2
การออกแบบคานรูปตัวที (T-beam) ตอนที่ 2/2
Просмотров 2424 месяца назад
การออกแบบคานรูปตัวที (T-beam) ตอนที่ 2/2
การออกแบบกำแพงเฉือนที่มีความเหนียวพิเศษ ตอน 2/2
Просмотров 2964 месяца назад
การออกแบบกำแพงเฉือนที่มีความเหนียวพิเศษ ตอน 2/2
การคำนวณแรงลมตาม มยผ.1311 ตอน 2/2
Просмотров 1,1 тыс.5 месяцев назад
การคำนวณแรงลมตาม มยผ.1311 ตอน 2/2
FRP bars คืออะไร และมีแนวทางออกแบบอย่างไร ตอน 1/2
Просмотров 5905 месяцев назад
FRP bars คืออะไร และมีแนวทางออกแบบอย่างไร ตอน 1/2
การออกแบบกำแพงเฉือนที่มีความเหนียวพิเศษ ตอน 1/2
Просмотров 3805 месяцев назад
การออกแบบกำแพงเฉือนที่มีความเหนียวพิเศษ ตอน 1/2
การออกแบบคานรูปตัวที (T-beam) ตอนที่ 1/2
Просмотров 4305 месяцев назад
การออกแบบคานรูปตัวที (T-beam) ตอนที่ 1/2
การคำนวณแรงลมตาม มยผ.1311 ตอน 1/2
Просмотров 2 тыс.5 месяцев назад
การคำนวณแรงลมตาม มยผ.1311 ตอน 1/2
การออกแบบจุดต่อคานเสาต้านแผ่นดินไหว ตอน 2/2
Просмотров 4685 месяцев назад
การออกแบบจุดต่อคานเสาต้านแผ่นดินไหว ตอน 2/2
การออกแบบจุดต่อคานเสาต้านแผ่นดินไหว ตอน 1/2
Просмотров 7996 месяцев назад
การออกแบบจุดต่อคานเสาต้านแผ่นดินไหว ตอน 1/2

Комментарии

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    มีประโยชน์มาก ในการควบคุมงานก่อสร้าง ถอดปริมาณเหล็ก ระยะความยาวเพื่อทำตัวเหล็ก รูปแบบต่างๆครับ

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอขอบพระคุณมากๆครับท่านอาจารย์ รอตอนต่อไปครับ

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอบคุณครับอาจารย์ ได้ทบทวน สมการต่างๆ ที่ใช้สำหรับการออกแบบ ใช้ในการควบคุมงานนก่อสร้าง อย่างมีคุณภาพครับ ขอบคุณมากๆครับ อยากให้อาจารย์ออกมาเรื่อยๆ อย่างนี้ต่อๆไปครับ

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอบคุณอาจารย์ ครับ

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอพระคุณมากครับอาจารย์

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอบคุณอาจารย์มากๆครับ ได้ทบทวนได้เยอะครับ ไว้สำหรับใช้หน้างานและใช้ในการสอบด้วยครับ

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอบคุณครับอาจารย์ ได้ทบทวนความรู้ และนำไปใช้ได้จริง

  • @Kiiikiiikiiikiii
    @Kiiikiiikiiikiii 3 дня назад

    อาจารย์จะลงอีกเมื่อไหร่คะ 🥺🥺🥺

  • @ศักดิ์สรินทร์ใจกล้า

    ขอบคุณอาจารย์ครับ

  • @JV-2025
    @JV-2025 9 дней назад

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @gongsuphakrit5872
    @gongsuphakrit5872 10 дней назад

    ดินบดอัด บันเทิงล่ะ จะรู้ได้ไง บดอัดแค่ไหน ถ้าไม่อิงดินเดิม

  • @user-il5fi8nf1b
    @user-il5fi8nf1b 10 дней назад

    ขอบคุณครับที่ให้ความรู้แบบฟรีๆครับ

  • @คมกริชสว่างวรรณ์

    ผมจะไล่ดู RUclips ของอาจารย์ทั้งหมด ให้เริ่ม 1 ดูจากเรื่องไหนก่อนดีครับ

    • @amorn_pimanmas
      @amorn_pimanmas 10 дней назад

      เริ่มจากเรื่องที่สนใจก่อนครับ

  • @Audwhan
    @Audwhan 13 дней назад

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @Thong-dw9jw
    @Thong-dw9jw 17 дней назад

    มีประโยชน์ครับ

  • @bnv2246
    @bnv2246 21 день назад

    ขอบคุณครับ

  • @วรรณนรีศรีเพชร

    สอบHSKภาษาจีน ได้คะแนนCPDไหมครับ

  • @SURADECHNANTAPODECH
    @SURADECHNANTAPODECH Месяц назад

    นาทีที่ 12.26 ในวีดีโอ ค่า fc' = 320 ksc. ขอบคุณครับ

  • @knabbank2024
    @knabbank2024 Месяц назад

    มีตอนที่2ไหมคับ

  • @kfc3052
    @kfc3052 Месяц назад

    อาจารย์ครับ ฐานรากอาคารเก่า 5 ชั้น ใช้ฐานรวม ความกว้างจาก ศูนย์กลางเสาถึง ริมเสา 0.80 เมตร ความหนา 0.25 m. สามารถวางช่องลิฟท์ บนฐานราคเก่าได้ไหมครับ นั่งในระยะ 0.80 ม.

  • @nachonthavorn546
    @nachonthavorn546 Месяц назад

    อาจารย์พอจะมีวิธีคำนวณการถ่ายน้ำหนัก ในกรณีเป็นพื้น 2 ทาง แต่มีคานรองรับเพียง 3 ด้านไหมครับ

  • @นครินทร์แสงพล-ช4ฮ

    มาแล้ว ขอบคุณอาจารย์

  • @jiwjiwat
    @jiwjiwat Месяц назад

    ขอถามว่า แรงลม มยผ.1311-50 เนื้อหา คำอธิบายใน ภาคผนวก ค1 และ ตาราง ค-1 ถึง ค-3ข มีใครเข้าใจบ้าง ว่า แรงลมแบบที่1 ถึงแบบที่4 ในคำอธิบาย แสดงไว้ที่ใดในตาราง ช่อง load case มีเลข 1-4 เป็นแรงทั้งแบบใช่ไหม ทำไมในคำอธิบายข้อ5 บอกว่า แรงแบบที่1และ2 ตั้งฉากกับสันหลังคา แบบที่3 ขนานกับสันหลังคา แต่กลับอธิบายต่ออีกว่า แรงแบบที่1และ3 ในตาราง ค-3ก เป็นแบบขนานกับสันหลังคา แล้ว แบบที่2และ4 เป็นแบบตั้งฉากกับสันหลังคา สรุปว่า เป็นแบบไหนกันแน่ แถมซ้ำหน่วยแรง ยังกลับไปมา เดี๋ยวเป็น นิวตัน/ตารางเมตร เดี๋ยวเป็น กิโลกรัม/ตารางเมตร

  • @manee-dd
    @manee-dd Месяц назад

    ถ้าเป็นพื้นช่วงเดียวสามารถวิเคราะห์ด้วยวิธีdirect design methodได้ไหมคะ

  • @มนตรีจีนยี่-บ1ถ

    รบกวนขอเอกสารการบรรยายด้วยได้ไหมครับอาจาร์ย

  • @somchaiandaman5094
    @somchaiandaman5094 Месяц назад

    ขอบพระคุณมากครับ

  • @jthvfbufbv8304
    @jthvfbufbv8304 Месяц назад

  • @Chit5829
    @Chit5829 Месяц назад

    ขอบพระคุณครับ อาจารย์

  • @anuwatno.1024
    @anuwatno.1024 Месяц назад

    ใช้หลักการนี้คำนวนฐานรากแบบตีนเป็ดได้มั้ยครับ

  • @bundamro8779
    @bundamro8779 Месяц назад

    ขอบคุณครับอจ. ขออนุญาตสอบถามว่าผมสามารถขอเอกสารสอนอาจาร์ไปศึกาาต่อได้ไหมครับ

  • @TradolPuwiset
    @TradolPuwiset Месяц назад

    แล้วเราก็ต้องทุบทำใหม่บางโครงการถ้าเห็นว่าต้องมั่นคงและปลอดภัยจริงๆ

  • @TradolPuwiset
    @TradolPuwiset Месяц назад

    ตอนนี้ที่ผมกังวลเกี่ยวกับโครงสร้างต่างๆที่สร้างขึ้นไม่ว่าจะเป็นตึกราบ้านช่องเราสามารถตรวจสอบความคงทนได้หรือไม่ครับปัญหาใหญ่ที่พอจะทราบได้และมองเห็นในเรื่องของการทุจริตโครงการก่อสร้างต่างๆที่ทั้งวิศวกรและทีมงานและคุณภาพของอุปกรณ์ในการก่อสร้างที่จะไม่ได้มาตฐานในการก่อสร้างผมก็กังวลอยู่นะครับในอายุการใช้งานบางโครงการที่เสร็จไปแล้ว ในต่างประเทศประเทศใดแผ่นดินไหวบ่อยก็จะใช้เหล็กชนิดพิเศษขึ้นไปอีกในการเทโครงสร้าง ถ้าเอาวิธีการตรวจสอบมาตฐานโครงการต่างๆวิธีนี้ง่ายสุดครับแต่ต้องเป็นความลับ เราไปซื้อเหล็กบริษัทหรือห้างร้านที่ขายอุปกรณ์ระบบโครงสร้างอาคาร ถนน ตึก ก็คือเหล็กทุกชนิดที่มีขายในประเทศและก็เอามาเช็คคุณภาพจากนั้นเราก็จะรู้เลยว่าเหล็กร้านไหนไม่ได้มาตฐานจากนั้นเราสามารถไล่ได้เลยว่าเหล็กจากร้านนี้ไปสู่โครงการใดบ้างนี่น่าจะเป็นวิธีการที่แยบยลสุดเพราะจะเช็คที่สร้างเสร็จหมดแล้วคงทำได้ยากลำบากครับ

  • @bnv2246
    @bnv2246 2 месяца назад

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @knabbank2024
    @knabbank2024 2 месяца назад

    อยากให้อาจารย์ทำคลิปอธิบายว่าสมการตรวจสอบมาได้ยังไงครับ

  • @kawinpobtheorem
    @kawinpobtheorem 2 месяца назад

    หากว่าใช้หลักการนี้ input เหล็ก DB16 /fy = 4000 ksc /คอนกรีต 240 ksc output จะได้ Ldh = 31.78 cm อย่างนี้แสดงว่าบ้านพักอาศัย 2 ชั้นทุกหลัง เสาต้องมีขนาด 35*35 เลยหรอครับ

  • @siltyclayo
    @siltyclayo 2 месяца назад

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @7naschannel925
    @7naschannel925 2 месяца назад

    ขอบคุณครับ

  • @bell490610575
    @bell490610575 2 месяца назад

    ขอบคุณครับ

  • @bell490610575
    @bell490610575 2 месяца назад

    ขอบคุณครับ

  • @user-ni3sq6sh8x
    @user-ni3sq6sh8x 2 месяца назад

    ขอบคุณอาจารย์ครับ

  • @kiattisakboonprasert8164
    @kiattisakboonprasert8164 2 месяца назад

    คลิปมีประโยชน์ติดตามครับ

  • @electrical.hardcore
    @electrical.hardcore 2 месяца назад

    สภาวิศวกร คือ บริษัทเอกชล ดูวุ่นวายจังเลย ความรู้มันอยู่ที่โรงเรียนไม่ได้อยู่ที่นั่น

  • @Kradookdee
    @Kradookdee 3 месяца назад

    ขอบคุณครับผม

  • @IISRADSIRS
    @IISRADSIRS 3 месяца назад

    ปัจจุบันใช้คลิปนี้ยังถูกต้องไหม

  • @kcsunshine3659
    @kcsunshine3659 3 месяца назад

    มาตรฐานเรื่องนี้มีระบุในมาตรฐาน วสท. ข้อใดไหมครับ ขอบคุณครับ

  • @phukitchinachotmetha3151
    @phukitchinachotmetha3151 3 месяца назад

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @tanadech1960
    @tanadech1960 3 месяца назад

    อยากให้อาจารย์จัดทำสื่อการสอนวิธีไดนามิคเพิ่มครับ

  • @phukitchinachotmetha3151
    @phukitchinachotmetha3151 4 месяца назад

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @Piboon-b
    @Piboon-b 4 месяца назад

    ขอบพระคุณครับอาจารย์

  • @ลายสือแสงส่ง-ถ9ต

    อาจารย์ครับ ผมหาคลิป แก้ไขเข็มเยื้องศูนย์ไม่เจอเลยครับไม่ทราบอาจารย์ บรรยายไว้ไหม แบบคานยึดรั้ง ตอกแซม