สตฺตานํ ท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ
สตฺตานํ ท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ
  • Видео 961
  • Просмотров 46 732
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๕๓๕-๕๔๘ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส ย่อมเกิดแต่ของที่รัก
๗. ปิยชาติกสูตร
ว่าด้วยสิ่งเป็นที่รัก
บุตรน้อยของคฤหบดีตาย
[๕๓๕] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิก
เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี. ก็โดยสมัยนั้นแล บุตรน้อยคนเดียวของคฤหบดีผู้หนึ่ง ซึ่งเป็น
ที่รักที่ชอบใจได้กระทำกาละลง. เพราะการกระทำกาละของบุตรน้อยคนเดียวนั้น การงานย่อมไม่
แจ่มแจ้ง อาหารย่อมไม่ปรากฏ. คฤหบดีนั้น ได้ไปยังป่าช้าแล้วๆ เล่าๆ คร่ำครวญถึงบุตรว่า
บุตรน้อยคนเดียวอยู่ไหน บุตรน้อยคนเดียวอยู่ไหน. ครั้งนั้นแล คฤหบดีนั้น ได้เข้าไปเฝ้า
พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วจึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
คฤหบดีเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
[๕๓๖] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะคฤหบดีผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วว่า ดูกร
คฤหบดี อินทรีย์ไม่เป็นของท่านผู...
Просмотров: 47

Видео

พระไตรปิฎก เล่มที่๑๓ ข้อ๕๒๑-๕๓๔ อังคุลิมาล- เธอได้เสวยผลกรรมซึ่งเป็นเหตุ จะให้เธอพึงหมกไหม้อยู่ในนรก
Просмотров 232 часа назад
๖. อังคุลิมาลสูตร พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดองคุลิมาลโจร [๕๒๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้: สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี. ก็สมัยนั้นแล ในแว่นแคว้นของพระเจ้าปเสนทิโกศล มีโจรชื่อว่าองคุลีมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้อนเลือด ปักใจ มั่นในการฆ่าตี ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย. องคุลิมาลโจรนั้น กระทำบ้านไม่ให้เป็นบ้านบ้าง กระทำนิคมไม่ให้เป็น...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๘๖-๕๒๑ โพธิราชกุมารสูตร องค์ของภิกษุผู้มีความเพียร ๕
Просмотров 334 часа назад
๕. โพธิราชกุมารสูตร เรื่องโพธิราชกุมาร [๔๘๖] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้: สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เภสกฬามิคทายวัน เขตนครสุงสุมารคิระ ใน ภัคคชบท. ก็สมัยนั้น ปราสาทชื่อโกกนุท ของพระราชกุมารพระนามว่าโพธิ สร้างแล้วใหม่ๆ สมณพราหมณ์หรือมนุษย์คนใดคนหนึ่งยังไม่ได้อยู่. ครั้งนั้น โพธิราชกุมารเรียกมาณพนามว่า สัญชิกาบุตรมาว่า มานี่แน่ เพื่อนสัญชิกาบุตร ท่านจงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ...
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ ข้อ ๓๒-๕๕ เราปราศจากความพอใจในอารมณ์เหล่านี้ คือ รูป เสียงกลิ่น รส โผฏฐัพพะ
Просмотров 487 часов назад
ทรงอนุญาตบรรพชาและอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ [๓๔] ก็โดยสมัยนั้น ภิกษุทั้งหลายพากุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและผู้มุ่งอุปสมบท มาจาก ทิศต่างๆ จากชนบทต่างๆ ด้วยตั้งใจว่า พระผู้มีพระภาคจักให้พวกเขาบรรพชาอุปสมบท. ใน เพราะเหตุนั้น ทั้งพวกภิกษุ ทั้งกุลบุตรผู้มุ่งบรรพชาและกุลบุตรผู้มุ่งอุปสมบท ย่อมลำบาก. ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ มีพระทัยปริวิตกเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า บัดนี้ ภิกษุทั้งหลายพากุ...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ ข้อ ๒๕-๓๓ ยสกุลบุตร:ที่นี่ไม่วุ่นวายที่นี่ไม่ขัดข้อง มาเถิดยส นั่งลง
Просмотров 28День назад
เรื่องยสกุลบุตร [๒๕] ก็โดยสมัยนั้นแล ในพระนครพาราณสี มีกุลบุตร ชื่อ ยส เป็นบุตรเศรษฐี สุขุมาลชาติ. ยสกุลบุตรนั้นมีปราสาท ๓ หลัง คือ หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูหนาว หลังหนึ่ง เป็นที่อยู่ในฤดูร้อน หลังหนึ่งเป็นที่อยู่ในฤดูฝน. ยสกุลบุตรนั้นรับบำเรอด้วยพวกดนตรี ไม่มี บุรุษเจือปน ในปราสาทฤดูฝนตลอด ๔ เดือน ไม่ลงมาเบื้องล่างปราสาท. ค่ำวันหนึ่ง เมื่อ ยสกุลบุตรอิ่มเอิบพร้อมพรั่งบำเรออยู่ด้วยกามคุณ ๕ ได้นอ...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๔ ข้อ ๑-๒๔ อนัตตลักขณสูตร ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖ องค์
Просмотров 8214 дней назад
พึงเห็นวิญญาณนั้นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา. [๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ ในรูป ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในสังขาร ทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว อริย...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๒๒๙-๒๗๗ สังคีติสูตร ธรรมมีประเภทละ ๔ เหล่า
Просмотров 5614 дней назад
ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๔ เหล่านี้แล อันพระผู้มีพระภาคผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ตรัสไว้โดยชอบแล้วพวกเราทั้งหมดด้วยกันพึง สังคายนา ไม่พึงแก่งแย่งกันในธรรมนั้น การที่พรหมจรรย์นี้พึงยั่งยืนตั้งอยู่นานนั้น พึงเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุขแก่ชนมากเพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๒๒๑-๒๒๙ สังคีติสูตร ธรรมที่พระผู้มีพระภาค ผู้ทรงรู้เห็นตรัสไว้โดยชอบ
Просмотров 4721 день назад
๑๐. สังคีติสูตร (๓๓) [๒๒๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเสด็จเที่ยวจาริกไปในแคว้นมัลละ พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ได้เสด็จถึงนครของพวกมัลลกษัตริย์อันมีนามว่า ปาวา ได้ยินว่า สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ สวนมะม่วงของนายจุนทกัมมารบุตร เขตนครปาวา ฯ [๒๒๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ท้องพระโรงหลังใหม่ อันมีนามว่า อุพภตกะของพวกเจ้า มัลละแห่งนครปาวา สร้างสำเร็จแล้วไม่...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๒๐๗-๒๒๐ อาฏานาฏิยสูตร เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน
Просмотров 6321 день назад
๙. อาฏานาฏิยสูตร (๓๒) [๒๐๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์ ครั้งนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตั้งการรักษาไว้ทั้ง ๔ ทิศ ตั้งพลขันธ์ไว้ทั้ง ๔ทิศ ตั้งผู้ตรวจตราไว้ทั้ง ๔ ทิศ ด้วยเสนายักษ์กองใหญ่ ด้วยเสนาคนธรรพ์กองใหญ่ด้วยเสนากุมภัณฑ์กองใหญ่ และด้วย เสนานาคกองใหญ่ เมื่อราตรีล่วงปฐมยามไปแล้ว เปล่งรัศมีงามยิ่ง ยังภูเขาคิชฌกูฏทั้งสิ้นให้ สว่างไสว ...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๑๗๓-๒๐๖ สิงคาลกสูตร:อริยสาวกนั้นเป็นผู้ปราศจากกรรมอันลามก ๑๔ อยู่
Просмотров 5121 день назад
๘. สิงคาลกสูตร (๑๓) [๑๗๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน อันเป็นที่พระราชทาน เหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์ สมัยนั้น สิงคาลกคฤหบดีบุตรลุกขึ้นแต่เช้า ออกจาก กรุงราชคฤห์ มีผ้าชุ่ม มีผมเปียก ประคองอัญชลี นอบน้อมทิศทั้งหลาย คือ ทิศเบื้องหน้า ทิศเบื้องขวา ทิศเบื้องหลัง ทิศเบื้องซ้ายทิศเบื้องล่าง ทิศเบื้องบน ฯ [๑๗๓] ครั้งนั้น เวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรง...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๑ ข้อ ๑๓๐-๑๗๒ ตถาคตเคยเป็นมนุษย์ในชาติก่อน ภพก่อน กำเนิดก่อน
Просмотров 6421 день назад
๗. ลักขณสูตร (๓๐) [๑๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ ท่านอนาถบิณฑิก เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระมหาบุรุษผู้สมบูรณ์ด้วยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการเหล่านี้ ย่อมมีคติ เป็นสองเท่า...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ๔๖๔-๔๘๕ พระเจ้ามธุรราช วรรณสี่เหล่านี้ก็เป็นผู้เสมอกันหมดหรือมิใช่
Просмотров 3128 дней назад
๔. มธุรสูตร เรื่องพระเจ้ามธุรราช [๔๖๔] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้: สมัยหนึ่ง ท่านพระมหากัจจานะ อยู่ที่ป่าคุนธาวันใกล้เมืองมธุรา. พระเจ้ามธุรราชอวันตีบุตร ได้ทรงสดับว่า ดูกรท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า พระสมณะนามว่ากัจจานะ อยู่ที่ป่าคุนธาวัน ใกล้เมืองมธุรา กิตติศัพท์อันงามของท่านกัจจานะนั้นขจรไปว่า เป็นบัณฑิต ฉลาด มีปัญญา เป็นพหูสูต มีถ้อยคำวิจิตร (แสดงธรรมได้กว้างขวาง) มีปฏิภาณงาม เป็นผู้ใหญ่แ...
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๕๒-๔๖๓ มฆเทวสูตร อย่าได้เป็นบุรุษคนสุดท้ายของเราเลย
Просмотров 106Месяц назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๕๒-๔๖๓ มฆเทวสูตร อย่าได้เป็นบุรุษคนสุดท้ายของเราเลย
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๒๓-๔๕๑ รัฐปาลสูตร ธัมมุทเทส
Просмотров 116Месяц назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๒๓-๔๕๑ รัฐปาลสูตร ธัมมุทเทส
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๐๓-๔๒๒ ช่างหม้อชื่อฆฏิการะ
Просмотров 113Месяц назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๔๐๓-๔๒๒ ช่างหม้อชื่อฆฏิการะ
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๘๙ ๔๐๒ บุรุษผู้รู้ความก็ฉันนั้นแล เป็นคนไม่โอ้อวด ไม่มีมายาเป็นค
Просмотров 39Месяц назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๘๙ ๔๐๒ บุรุษผู้รู้ความก็ฉันนั้นแล เป็นคนไม่โอ้อวด ไม่มีมายาเป็นค
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๖๗-๓๘๘ สกุลุทายีปริพาชก ก็วรรณอย่างยิ่งเป็นไฉน
Просмотров 87Месяц назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๖๗-๓๘๘ สกุลุทายีปริพาชก ก็วรรณอย่างยิ่งเป็นไฉน
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๕๖ ๓๖๖ ดูกรนายช่างไม้ เราย่อมบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ปร
Просмотров 324 месяца назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๕ ๓๖ ดูกรนายช่างไม้ เราย่อมบัญญัติบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ปร
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๑๓-๓๕๕ ศิษย์ไม่เคารพครูทั้ง ๖
Просмотров 1204 месяца назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๓๑๓-๓๕๕ ศิษย์ไม่เคารพครูทั้ง ๖
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่๑๓ ข้อ ๒๙๓-๓๑๓ ไม่ได้มีการยกย่องแต่ธรรมของตน และมีคำติเตียนธรรมของผู้อื่น
Просмотров 694 месяца назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่๑๓ ข้อ ๒๙๓-๓๑๓ ไม่ได้มีการยกย่องแต่ธรรมของตน และมีคำติเตียนธรรมของผู้อื่น
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๗๖-๒๙๒ เรานั้นรู้ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเป็นเครื่องออก
Просмотров 385 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๗๖-๒๙๒ เรานั้นรู้ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเป็นเครื่องออก
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ๒๖๙-๒๗๕ บางสิ่งควรแก่เรา บางสิ่งไม่ควรแก่เรา นั้นส่วนที่เห็นว่าควร
Просмотров 125 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ๒๖๙-๒๗๕ บางสิ่งควรแก่เรา บางสิ่งไม่ควรแก่เรา นั้นส่วนที่เห็นว่าควร
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๕๓-๒๖๘ เราพึงแสดงธรรมทั้งที่เป็นกุศล ทั้งที่เป็นอกุศล
Просмотров 255 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๕๓-๒๖๘ เราพึงแสดงธรรมทั้งที่เป็นกุศล ทั้งที่เป็นอกุศล
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๔๐-๒๕๒ ดูกรวัจฉะ ควรแล้วที่ท่านจะไม่รู้ ควรแล้วที่ท่านจะหลง
Просмотров 345 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๔๐-๒๕๒ ดูกรวัจฉะ ควรแล้วที่ท่านจะไม่รู้ ควรแล้วที่ท่านจะหลง
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๒๒-๒๓๙ คุณของการฉันอาหารน้อยบุคคล ๗ จำพวก
Просмотров 945 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๒๒-๒๓๙ คุณของการฉันอาหารน้อยบุคคล ๗ จำพวก
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๐๓-๒๒๑ อรัญญิกธุดงค์
Просмотров 425 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๒๐๓-๒๒๑ อรัญญิกธุดงค์
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๗๕-๑๘๕ ความสุขโสมนัสที่เกิดเพราะอาศัยกามคุณห้านี้ เรากล่าวว่ากาม
Просмотров 226 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๗๕-๑๘๕ ความสุขโสมนัสที่เกิดเพราะอาศัยกามคุณห้านี้ เรากล่าวว่ากาม
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๘๖-๑๙๔ ภัยเพราะคลื่น ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะน้ำวน ภัยเพราะปลาร้า
Просмотров 6656 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๘๖-๑๙๔ ภัยเพราะคลื่น ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะน้ำวน ภัยเพราะปลาร้า
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ๑๖๐-๑๗๔ คุณแห่งการฉันอาหารหนเดียว
Просмотров 2036 месяцев назад
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๓ ข้อ๑๖๐-๑๗๔ คุณแห่งการฉันอาหารหนเดียว
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๕๒-๑๕๙โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕
Просмотров 536 месяцев назад
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่ ๑๓ ข้อ ๑๕๒-๑๕๙โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕

Комментарии

  • @wisutpanin3072
    @wisutpanin3072 14 дней назад

    สาธุครับ

  • @สมรักษ์ถวาย-ภ9ฐ

    สรวล อ่านว่า สรวน ไม่อ่านว่า สะ_หรวน แปลว่า ยิ้ม

    • @sattanam
      @sattanam Месяц назад

      ขอบคุณมากครับ

  • @YagoCarr
    @YagoCarr Месяц назад

    ขอบคุณมากสำหรับวิดีโอที่ยอดเยี่ยมนี้! ฉันมีคำถามด่วน: OKX wallet ของฉันมี USDT และฉันมีวลีการกู้คืน. (alarm fetch churn bridge exercise tape speak race clerk couch crater letter). คุณอธิบายวิธีการย้ายพวกมันไปยัง Binance ได้ไหม?

  • @okOK-nn2qt
    @okOK-nn2qt 5 месяцев назад

    อนุโมทนา สาธุๆๆ

  • @เซนเตอร์-ฒ4อ
    @เซนเตอร์-ฒ4อ 8 месяцев назад

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

    • @sattanam
      @sattanam 8 месяцев назад

      ขอบคุณมากครับ..ไม่ได้เป็นถึงขั้นอาจารย์หรอกครับ..อยากฝึกอ่านออกเสียงกน่ะครับ..

  • @udakawasuta8102
    @udakawasuta8102 8 месяцев назад

    เป็นกำลังใจให้นะ❤❤❤ สาธุ

    • @sattanam
      @sattanam 8 месяцев назад

      ขอบคุณมากครับ..

  • @อาจารย์ต้อมบารมีองครูพระพญายัก

    เมือโลกในวัตตะแห่งภพภูมมินี้ มิเป็นไปตามความจริงมีการชีนำและกลั้นแกล้งนั้นจะตักสิ้นว่าถูกผิดเช่นวด นั้นเรายึดถือ การมิเสพสมในตัณหาอีกตีอไหมอ่ะ จบสิ้นในทายาทแห่งพระทองนั้นคือมิต้องให้มีโลกาวัชแห่งเราอีกต่อไป บุญยารมีเราก็ไม่ส่บต่อแต่ใครนับขากนี้

  • @prasertpm.9263
    @prasertpm.9263 Год назад

    ควรจะแบ่งวรรค_แบ่งตอน_จังหวะ_เนื้อหาคำพูด_ไม่ต้องรีบ_จะทำให้เนื้อความไม่ประติดประต่อ_คล้องจองกัน_ไม่ราบรื่น

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      รับทราบครับ..จะแก้ไขจังหวะอ่านครับ..

  • @pongpalanun
    @pongpalanun Год назад

    ในตำรา​ จะมีข้อความ​ที่​ ไม่ระบุ​ รายละเอียด​ บางเรื่อง​ จะพบว่า​ ข้อความ​ พูดข้ามไป​ ขาดหายไปดื้อ​ ๆ​.... .. ที่ห้ามปุ่มเช็ดเท้า​ เนื่องจากอะไรครับ... .. ลองไปดูเรื่อง​ พระวักกลิ...

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      ที่ห้ามปุ่มเช็ดเท่าเพราะอะไรก็ยังไม่รู้เหมือนกันครับ...ยังอ่านไม่ครับทุกเล่ม เรื่องพระวักกลิ...ผ่านหูผ่านตาอยู่นิดหน่อย

  • @ศศินภาหนูมงคล

    อาบัตทุกกฎ คืออะไรคะ

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      อาบัติมี ๗ กอง คือ 1. ปาราชิก (แปลว่า ผู้พ่ายแพ้) 2. สังฆาทิเสส (แปลว่า อาบัติอันจำ ปรารถนาสงฆ์ ในกรรม เบื้องต้นและกรรมที่เหลือ) 3. ถุลลัจจัย (แปลว่า ความล่วงละเมิดที่หยาบ) 4. ปาจิตตีย์ (แปลว่า การละเมิดที่ยังกุศลให้ตก) 5. ปาฏิเทสนียะ (แปลว่า จะพึงแสดงคืน) 6. ทุกกฏ (แปลว่า ทำ ไม่ดี) 7. ทุพภาสิต (แปลว่า พูดไม่ดี) อาบัติปาราชิกมีโทษหนัก ทำ ให้ผู้ล่วงละเมิดขาดจากความเป็นภิกษุ อาบัติสังฆาทิเสสมีโทษหนักน้อยลงมา ผู้ล่วงละเมิดต้องอยู่กรรม คือ ประพฤติวัตรตามที่ทรงบัญญัติ จึงจะพ้นจากอาบัตินี้ ส่วนอาบัติ ๕ กองที่เหลือมีโทษเบา ผู้ล่วงละเมิดต้องประกาศ สารภาพผิดต่อหน้าภิกษุด้วยกัน ดังที่เรียกว่า ปลงอาบัต

    • @ศศินภาหนูมงคล
      @ศศินภาหนูมงคล Год назад

      @@sattanam ขอบคุณคะ

  • @จิระศักดิ์ทองอุ่น

    อนุโมทนา

  • @จิระศักดิ์ทองอุ่น

    อนุโมทนา

  • @chayutpakkultaweechai8673
    @chayutpakkultaweechai8673 Год назад

    แบบเณรคำ หลอกไปเรื่อย

  • @lawofkamma
    @lawofkamma Год назад

    👍👍🙏🙏

  • @ลลิตพรรณบุตรเจริญทรัพย์

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @aukritdajsiriwong1649
    @aukritdajsiriwong1649 Год назад

    ไม่ได้มรรคผลอะไรเลยอย่าหลงเชื่องมงายบ้าคลุ้มคลั่งเลยอุบาทว์มากมายท่วมท้นทะลักเน่าเหม็นลามกจกเปรตอ้วกแตก

  • @aranyasaksribundee2886
    @aranyasaksribundee2886 Год назад

    😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇😇

  • @สุรเดชพันธุ์แดง

    ขอบคุณท่านที่แสดง

  • @bychotana6854
    @bychotana6854 Год назад

    สาธุค่ะ

  • @วราพงษ์หวงรัตนากร-ษ8ย

    ธรรมมะเป็นทาน อนุโมทนาสาธุครับ

  • @วีรชัย-ฤ5ง
    @วีรชัย-ฤ5ง Год назад

    สาธุ

  • @jonsanow1499
    @jonsanow1499 Год назад

    ใช้โปรแกรมอะไรอ่านครับ ไม่ค่อยคุ้นหน้าตาเลย แล้วฟอนต์ภาษาไทย ชื่อฟอนต์อะไรครับ ดูนวลตาดี

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      ใช้ OBS ครับ

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      ฟอนต์ใช้ของโปรแกรม etipitakaเบยครับ etipitaka.com/

  • @นิพิทพันอุโมง

    " ฝึกอ่าน"จึงไม่อยากตำหนิ

    • @sattanam
      @sattanam Год назад

      ขอบคุณมากครับ...

  • @thitiratmanorat3395
    @thitiratmanorat3395 Год назад

    สาธุ สาธุ สาธุค่ะ

  • @thitiratmanorat3395
    @thitiratmanorat3395 Год назад

    สาธุค่ะ